กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

องค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

ตำบลนาหว้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้

 

80.00
2 ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

90.00
3 ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

 

80.00
4 ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น

 

80.00

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้าได้จัดตั้งขึ้น เพื่อให้ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้านี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ร้อยละของคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้

เพิ่มร้อยละคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้

80.00 90.00
2 ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

เพิ่มร้อยละกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถดำเนินงาน ควบคุม  กำกับดูแล การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามระเบียบฯ

90.00 100.00
3 ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

เพิ่มร้อยละกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถกำกับดูแลหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด

80.00 90.00
4 ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น

เพิ่มร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า  ให้มีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น

80.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คณะกรรมการ/ปรึกษากองทุน/คณะทำงาน 21
คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน 19

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/10/2022

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษากองทุน และคณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษากองทุน และคณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุนฯ/ที่ปรึกษากองทุน/คณะทำงาน (เบี้ยประชุม) จำนวน 21 คนๆ ละ 400 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 33,600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะกรรมการกองทุนฯ/ที่ปรึกษากองทุน/คณะทำงาน จำนวน 21 คนๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 2,100 บาท
  • ค่าตอบแทนอนุกรรมการ/คณะทำงาน (เบี้ยประชุม) จำนวน 19 คนๆ ละ 300 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 22,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อนุกรรมการ/คณะทำงาน จำนวน 19 คนๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 1,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
60400.00

กิจกรรมที่ 2 การเดินทางของกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ คณะทำงานและผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน

ชื่อกิจกรรม
การเดินทางของกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ คณะทำงานและผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าลงทะเบียนต่างๆ ค่าใช้จ่ายประเภทเงินชดเชยในการใช้พาหนะส่วนตัวในการเดินทางไปราชการ เป็นเงิน 9,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9000.00

กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อวัสดุสำนักงาน

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 7,650 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7650.00

กิจกรรมที่ 4 การจัดทำแผนสุขภาพและแผนการเงิน

ชื่อกิจกรรม
การจัดทำแผนสุขภาพและแผนการเงิน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2550.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 79,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. คณะกรรมการ อนุกรรมการ และคณะทำงานฯ มีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการกองทุน และสามารถและการปฏิบัติงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีการเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
3. แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
4. ข้อมูลของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้าในระบบออนไลน์มีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น


>