กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์คัดกรองโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน รพ.สต.น้ำผุด ปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด

รพ.สต.น้ำผุด

พื้นที่ตำบลน้ำผุด ม.3 ม.4 ม.6 ม.8 ม.9 ม.11

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือ ชื่อภาษาไทยเรียกว่า กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้น เป็นชื่อเรียก กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1.เพื่อประชาชนอายุ35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ข้อที่ 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคไม่ให้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ข้อที่3.อาสาสมัครสาธารณสุขมีอุปกรณ์เพียงพอในการตรวจคัดกรองและติดตามวัดความดันและเจาะน้ำตาลแก่กลุ่มเสี่ยง

ร้อยละ90ประชาชนอายุ35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  2. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ได้  3.อาสาสมัครสาธารณสุขมีอุปกรณ์เพียงพอในการตรวจคัดกรองและติดตามที่บ้านอย่างต่อเนื่อง

50.00 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,736
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 30/09/2022

กำหนดเสร็จ 31/12/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1 ประชุมคณะทำงาน ชี้แจงแนวทางดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
1 ประชุมคณะทำงาน ชี้แจงแนวทางดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 คนๆละ 1  มื้อๆละ 25 บาทรวม 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อชี้แจงแนวทางดำเนินงานโครงการเพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 2 2.ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับสถานการณ์ อาการและสาเหตุของการทำให้เกิดโรค ฝึกปฏิบัติวิธีการใช้เครื่องมือในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต

ชื่อกิจกรรม
2.ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับสถานการณ์ อาการและสาเหตุของการทำให้เกิดโรค ฝึกปฏิบัติวิธีการใช้เครื่องมือในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 83 คนๆละ 2  มื้อๆละ 25 บาทรวม 4,150 บาท ค่าอาหารกลางวัน 83 คนๆละ 1  มื้อๆละ 70 บาทรวม 5,810 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาสาสมัครสาธารณสุขได้รับความรู้เกี่ยวกับอาการและสาเหตุของการทำให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อสามารถปรับเปลี่ยนพฤติการกลุ่มเสี่ยงได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9960.00

กิจกรรมที่ 3 3.อาสาสมัครสาธารณสุข ออกรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตเชิงรุกแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สนใจในในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกาย จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
3.อาสาสมัครสาธารณสุข ออกรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตเชิงรุกแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่สนใจในในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกาย จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เครื่องวัดความดันโลหิต 30 เครื่องๆละ3,200บาท  = 96,000 บ. -เครื่องชั่ง น้ำหนัก   20 เครื่องๆละ 800 บาท = 16,000 บาท
-เครื่องเจาะน้ำตาล  18 เครื่องๆละ 1,000 บาท= 18,000 บ.
-แถบตรวจน้ำตาล 30 กล่องๆละ 850 บาท = 25,500 บ. ( 1กล่องมี 50 แถบ)
-เข็มสำหรับเจาะ  18 กล่องๆละ 700 บาท = 12,600 บ.       ( 1กล่องมี 100อัน)
-Cotton Ball  200 แผงๆละ 10 บาท รวม 2,000 บาท(1 แผงมี 8 ชิ้น) -ตลับสายวัดรอบเอว 80 อันๆละ60 บาท รวม 4,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาสาสมัครมีอุปกรณืเพียงพอในการตรวจคัดกรองและติดตามที่บ้านอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 65 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
174900.00

กิจกรรมที่ 4 4.กิจกรรมอบรมกลุ่มเสี่ยงในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การบรโถคตามหลัก 3อ 2ส จำนวน 50 คน ติดตามการวัดความดันโลหิตและเจาะน้ำตาลที่บ้านโดย อาสาสมัครสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

ชื่อกิจกรรม
4.กิจกรรมอบรมกลุ่มเสี่ยงในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การบรโถคตามหลัก 3อ 2ส จำนวน 50 คน ติดตามการวัดความดันโลหิตและเจาะน้ำตาลที่บ้านโดย อาสาสมัครสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คนๆละ 2  มื้อๆละ 25 บาทรวม 2,500 บาท -ค่าอาหารกลางวัน 50 คนๆละ 1  มื้อๆละ 70 บาทรวม 3,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 191,360.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (1,736 คน)
2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสามารถดูแลตนเองให้ลดจากการเกิดโรคเรื้อรัง
ต่อไปได้
3.อาสาสมัครสาธารณสุขมีอุปกรณ์เพียงพอในการตรวจคัดกรองและติดตามวัดความดันและเจาะน้ำตาลแก่กลุ่มเสี่ยงที่บ้านได้
ต่อเนื่อง


>