กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

หนูน้อยฟันสวยยิ้มใส ในเด็กปฐมวัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า

โรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้า สังกัดกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้า ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของว่าเด็กนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้า และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้ายังขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้า และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้าเพื่อให้ได้มีความรู้ในการดูแลสขภาพในช่องปากอย่าถูกต้อง

เด็กนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเกาะสะบ้า และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะสะบ้าเพื่อให้ได้มีความรู้ในการดูแลสขภาพในช่องปากอย่าถูกต้อง100เปอร์เซ็นต์

50.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 113
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/09/2022

กำหนดเสร็จ 30/11/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องดูแลสุขภาพช่องปากให้กับผู้ปกครองและเด็ก

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องดูแลสุขภาพช่องปากให้กับผู้ปกครองและเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องดูแลสุขภาพช่องปากให้กับผู้ปกครองและเด็ก โดยวิทยากร
    • หน้าที่และความสำคัญของอวัยวะในช่องปาก
    • การดูแลสุขภาพช่องปาก
    • การแปรงฟันอย่างถูกวิธี/ฝึกปฏิบัติจริง
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 130 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน1มื้อ
      เป็นเงิน3,250บาท

- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน ๆ 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน2,400 บาท - ค่าแปรงสีฟันเด็กพร้อมแก้วน้ำสแตนเลส ประกอบการฝึกปฏิบัติ จำนวน 120 ชุด85บาท เป็นเงิน10,200บาท - ค่าสื่อภาพพลิก ขนาด A4 จำนวน 8 ชุด ๆ ละ 475 บาทเป็นเงิน 3,800 บาท - ค่าโมเดลการสอนการแปรงฟันแบบเรซิ่น จำนวน 2 ชุด ๆ
ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท - ฟลูออไรด์วานิช จำนวน 120 หลอด ๆ ละ 50 บาทเป็นเงิน 6,000 บาท
งบประมาณตั้งไว้ รวม 28,050.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 กันยายน 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
28050.00

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพช่องปาก

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสุขภาพช่องปาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ตรวจสุขภาพช่องปาก      - โดยประสานทันตภิบาลจากหน่วยบริการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วานิชแก่เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนในสังกัด และตรวจติดตามทุก 6 เดือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 กันยายน 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,050.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพในช่องปากครบถ้วนทุกคน
2. ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี


>