กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ชาวโคกหมักร่วมใจ ครัวเรือนคัดแยกขยะต้นทางปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชาวโคกหมักร่วมใจ ครัวเรือนคัดแยกขยะต้นทางปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านโคกหมัก

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านโคกหมัก

หมู่ที่ 2 ตำบล ดาโต๊ะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ขยะมูลฝอยขยะหรือของเสีย แบ่งเป็น มูลฝอยธรรมดาทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยสด เศษอาหาร กระดาษ โฟม พลาสติก ขวด แก้ว โลหะ ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ มูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล กากสารเคมี สารเคมีกำจัดแมลง กากน้ำมัน หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่ใช้แล้ว แหล่งกำเนิดของเสียที่สำคัญ ได้แก่ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรม ปริมาณขยะมูลฝอยดังกล่าว ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะที่เกิดขึ้นทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่าง ๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่อากาศเสียน้ำเสียแหล่งพาหะนำโรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงเกิดเหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน
ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านโคกหมัก ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี มีจำนวนประชากร ชาย323คน หญิง226 คน รวมประชากร 422 คน มีจำนวนครัวเรือน 145 ครัวเรือน(ข้อมูล ณ 9 กรกฎาคม 2564 : ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี) มีปริมาณขยะเฉลี่ยประมาณ 10 กิโลกรัมต่อคนต่อเดือนรวมทั้งสิ้น เดือนละ 4.2 ตัน
ในการนี้กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 2 จึงจัดทำโครงการชาวโคกหมักร่วมใจ ครัวเรือนคัดแยกขยะต้นทาง ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ป้องกันโรค โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านโคกหมัก มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ การคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี รวมทั้งบริหารจัดการขยะในรูปแบบธนาคารขยะเพื่อให้ชุมชนมีปริมาณลดลงจากการที่ประชาชนนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติคัดแยกขยะจากต้นทางและร่วมกิจกรรมในโครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนสะอาด ปราศจากโรคภัย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่ออบรมให้ความรู้ประชาชนหมู่ที่ 2 บ้านโคกหมัก ในจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

 

0.00
2 2.เพื่อช่วยลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกต้องเหมาะสม

 

0.00
3 3.เพื่อเป็นการสร้างรูปแบบการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดำเนินงาน

 

0.00
4 4.เพื่อลดการเกิดโรคจากขยะในชุมชนได้

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ขออนุมัติโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติในหลักการ

ชื่อกิจกรรม
ขออนุมัติโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติในหลักการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าป้ายโครงการ 1.20x2.40 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 720 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนได้รับการประชาสัมพันธ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
720.00

กิจกรรมที่ 2 จัดทำและเสนอโครงการรับการอนุมัติและการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำและเสนอโครงการรับการอนุมัติและการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดาโต๊ะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าตอบแทนวิทยากร(1 คน x6 ชั่วโมงx600บาท)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3600.00

กิจกรรมที่ 3 ประสานวิทยากร เพื่อจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนชาวบ้านโคกหมัก

ชื่อกิจกรรม
ประสานวิทยากร เพื่อจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนชาวบ้านโคกหมัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อาหารว่างและเครื่องดื่ม(50คนx2มื้อx30บาท)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอบรมให้ความรู้โดยมีตัวแทนชาวบ้านโคกหมัก 50 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้โดยมีตัวแทนชาวบ้านโคกหมัก 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อาหารกลางวันและเครื่องดื่ม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมการจัค่าวัสดุฝึกอบรม กระสอบ 300ใบๆละ 5 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท สมุดบัญชีธนาคาร 50 เล่ม ๆละ 9.60 บาท เป็นเงิน 480 บาท ตาชั่ง 1 เครื่อง ๆละ 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท เครื่องคิดเลข 1 เครื่องๆ ละ 700 บาท เป็นเงิน 700 บาทดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4680.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนหมู่ที่2 บ้านชาวโคกหมัก มีความรู้ในจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
2.ลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกต้องเหมาะสม
3.มีรูปแบบการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดำเนินงาน
4.ลดการเกิดโรคจากขยะในชุมชนได้


>