กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า

โรงพยาบาลศรีบรรพต

หมู่ที่ 6,7 และ 9 ตำบลเขาย่า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

33.80
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

25.83
3 ร้อยละของประชาชนป่วยด้วยโรคเบาหวาน

 

6.74
4 ร้อยละของประชาชนป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง

 

16.26
5 ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมน้ำตาลได้ดี

 

38.60
6 ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

 

51.66

โรคซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ คุกคามชีวิตคนไทยที่สำคัญ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูงหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมอง ดังจะเห็นได้จากสถานบริการสาธารณสุข ทุกระดับ ต่างแออัดไปด้วยผู้ป่วยโรคเหล่านี้ นับว่าเป็นภาระต่องบประมาณของประเทศในด้านการดูแลสุขภาพ เพราะต้องใช้ทั้งยา บุคลากร สถานที่และเครื่องมือแพทย์ต่างๆ เพื่อให้เพียงพอต่อการ ดูแลรักษา และการฟื้นฟูสุขภาพที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต จากการตรวจคัดกรองโรคในประชากรกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลศรีบรรพต ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปใน ปี 2563 -2565 สามารถคัดกรองโรคเบาหวานครอบคลุมร้อยละ 91.13 ,91.03,91.02 ตามลำดับ และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงได้ครอบคลุมร้อยละ90.91,90.33,90.17 ตามลำดับ พบว่า ประชากรที่มีภาวะความดันโลหิตสูง อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 15.19 , 11.31 , 25.83อยู่ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ 13.58 , 8.01, 22.81 ประชากรที่มีภาวะเบาหวาน อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 33.88 , 32.64 , 33.80อยู่ในกลุ่มกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ 3.78 , 2.90 , 2.80 อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ 15.41 , 16.00 ,16.26 อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 6.10, 6.58 , 6.74 ในปี 2565มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ร้อยละ 51.66 และผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 36 .80 กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลศรีบรรพต จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประจำปี 2566 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยทีมแกนนำสุขภาพในชุมชน ตลอดทั้งได้รับการเสริมสร้างความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้ในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ผู้ที่สงสัยป่วยได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง และป้องกันภาวะแทรกซ้อน สำหรับกลุ่มป่วยได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

33.80 20.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิต ลดลง

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิต ลดลง

25.83 80.00
3 เพื่อตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน

ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน>ร้อยละ70

23.00 70.00
4 เพื่อตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง > ร้อยละ 70

179.00 70.00
5 ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี >ร้อยละ 50

38.66 50.00
6 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี  >ร้อยละ 60

51.66 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 55
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมแกนนำเพื่อวางแผน ติดตามการดำเนินงาน สรุปโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมแกนนำเพื่อวางแผน ติดตามการดำเนินงาน สรุปโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1ประชุมแกนนำ จำนวน 53 คน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุมจำนวน 53 คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 1,325 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลลัพธ์  -กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1325.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมแกนนำอสม.ในการดูแลโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมแกนนำอสม.ในการดูแลโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมแกนนำอสม.ในการดูแลโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง กิจกรรมอบรมแกนอสม.ในการดูแลโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงจำนวน55 คน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้ารับการอบรมและผู้จัด จำนวน 3 หมู่บ้านจำนวน 55 คน คน ๆ ละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวนเงิน 2,750 บาท -ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรมและผู้จัด จำนวน 3 หมู่บ้านละ 55คนละ 1 มื้อ มื้อละ 70 บาท จำนวนเงิน 3,850 บาท
-ค่าสมนาคุณวิทยากร 6 ช.ม.ๆละ 300 บาท จำนวนเงิน 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม.มีความสามารถ ในการคัดกรองโรค ดูแล เป้าหมายที่รับผิดชอบ คลอบคลุม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8400.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง/ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 45 คน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรและผู้จัด จำนวน 45 คน จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท -ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรและผู้จัด จำนวน 45 คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 70 บาท เป็นเงิน 3,150 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 2.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 55 คน --ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรและผู้จัด จำนวน 55 คน จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,750 บาท -ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรและผู้จัด จำนวน 55 คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 70 บาท เป็นเงิน 3,850 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต -กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80            -กลุ่มเสี่ยงมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผลลัพธ์ -กลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15600.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามการดำเนินงาน สรุปโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามการดำเนินงาน สรุปโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุม ติดตามการดำเนินงาน สรุปโครงการ จำนวน 53 คน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุมจำนวน 53 คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 1,325 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1325.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,650.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
2.ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90
3.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพของคนในชุมชน
4.กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับคำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
5.กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตได้รับการคัดกรองซ้ำ
6.กลุ่มเลี่ยงที่ผลการตรวจคัดกรองเสี่ยงอีกได้รับการส่งตัวรักษาต่อ
7.กลุ่มป่วย อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง


>