กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ส่งเสริมสุขภาพจิตและเสริมสร้างพลังเครือข่ายเพื่อการเยียวยาแม่เลี้ยงเดี่ยว"ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข"

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพจิตและเสริมสร้างพลังเครือข่ายเพื่อการเยียวยาแม่เลี้ยงเดี่ยว"ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข"

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ

ชมรมกลุ่มสตรีแม่เลี้ยงเดี่ยว ตำบลบ้านน้ำบ่อ

1.นางสาวมาลินี สีผ่อง
2.นางสาวอิลฮัม สะนิ
3.นางสาวรอปีอะ มูน๊ะ
4.นางสาวซูไรยา ลาเต๊ะ
5.นางสาวรีซา อีซอ

อบต.บ้านน้ำบ่อ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมเยียวยาสุุขภาพจิต และป้องกันปัญหาภาวะซึมเศร้าและความเครียด

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีดัชนีสุขภาพอยู่ในระดับดี

0.00
2 เพื่อส่งเสริมความรู้ เสริมสร้างสุขภาวะ ให้ปลอดโรค ปลอดภัยและกายเป็นสุข

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ การดูแลสุขภาพจิต สุขภาพกายและการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข

0.00
3 เพื่อเสริมสร้างกลไกและเครือข่ายช่วยเหลือเยียวยาครอบครัวแม่เลี้ยงเดี่ยว

เกิดกลไกและเครือข่ายครอบครัวในชุมชนในการร่วมกันป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมวางแผน/ติดตาม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชุมวางแผน/ติดตาม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเตรียมความพร้อม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเตรียมความพร้อม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2*2.4 เมตร

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินด้านสุขภาพจิต

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร 5 ชม.ๆละ 600 บาท ค่าอาหารกลางวัน 50 กล่องๆละ 60 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 ชุดๆละ 25 บาท ค่ากระเป๋า สมุด ปากกา 45 ชุดๆละ 90 บาท ค่าของรางวัลสมมนาคุณ 10 ชิ้นๆละ 50 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้วิธีการดูแลและพัฒนาสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และใช้ชีวิตอย่างมีความสุข

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11800.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมติดตาม/ตรวจเยียมกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตาม/ตรวจเยียมกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าชุดลงตรวจเยี่ยม 10 ชุดๆละ 150 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,050.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ลดปัญหาครอบครัวและสังคม ชุมชนมีความอบอุ่น เครือข่ายมีความเข้มแข็ง สุขภาพจิตมั่นคงและยั่งยืน


>