กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา รหัส กปท. L5190

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ Brain Based Learning ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลเทพา
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
คลินิกเวชปฎิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์หนึ่ง โรงพยาบาลเทพา
3.
หลักการและเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา เมื่ออวัยวะครบสมบูรณ์ ก็สามารถเรียนรู้ได้ ดังนั้น การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองหรือเรียกว่า Brain Based Learning (BBL)จึงเป็นวิธีการเรียนรู้ที่สามารถนำไปปฏิบัติ สร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรอย่างมั่นใจ ซึ่งในขณะแม่ตั้งครรภ์ควรพูดคุยกับลูกในท้อง ใช้มือลูบคลำ หรือร้องเพลง หรือกิจกรรมที่แม่ทำแล้วสนุก มีความสุข เกิดสิ่งที่เราเรียกว่า “Mozart Effect” ซึ่งไม่จำเป็นต้องฟังเพลงของโมสาร์ทเท่านั้น อาจเป็น เพลงป๊อป เพลงลูกทุ่ง หรือเพลงอื่นๆ ที่แม่ฟังแล้วมีความสุข วงจรการเรียนรู้ของสมองมี 2 แบบ คือ “ตั้งใจและไม่ตั้งใจ” “ตั้งใจ” เมื่อถูกบังคับ เช่น ครู พ่อแม่บังคับให้ทำการบ้าน ให้เรียนรู้วิชา ซึ่งในลักษณะนี้ไม่เป็นผลดี เมื่อเด็กไม่พอใจ ไม่ต้องการเรียน สมองหรือ ระบบลิมบิก (Limbic system) จะปิด ส่วน “ไม่ตั้งใจ” นั้น ต้องเปิดสมองก่อน วิธีเปิดสมองอาจจะเปิดด้วยสมาธิ หรือจังหวะเพลง การเต้นง่ายๆ เมื่อสมองเปิดทำงาน มีสมาธิ แม่ตั้งครรภ์จะรู้สึกผ่อนคลาย ทารกในครรภ์ พร้อมที่จะเรียนรู้ก็จะทำได้ง่ายขึ้นโดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – ๕ ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม หากเด็กในช่วงนี้ได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม และมีการส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละด้านอย่างถูกวิธีจะส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์และพัฒนาการด้านสมองในอนาคต จากการศึกษาพบว่า การเรียนรู้แบบการมีส่วนร่วม อัตราการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน อยู่ในเกณฑ์ที่ดีพอสมควร คือร้อยละ 25 แต่อัตราน้ำหนักแรกเกิดน้อย กว่า 2,500 กรัม (LBW: Low birth weight), การขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์, ภาวะทุพโภชนาการในเด็ก (อ้วน-ผอม) ก็ยังเป็นปัญหา หญิงหลังคลอด ยังไม่มีความมั่นใจในเรื่องแนวคิด ความรู้ และทักษะในการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ ส่งผลให้อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ยังไม่ได้เพิ่มขึ้นชัดเจน การพยาบาลก็เป็นปัญหาอุปสรรค ในการเรียนการสอน บางครั้งผู้รับบริการไม่พร้อมในการเรียนรู้ ให้ความร่วมมือน้อยในการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ทำให้กระบวนการสอนใช้เวลานานและคล้ายการเรียนการสอนแบบเดิม คือการสอนสุขศึกษา หรือ Health Education ผู้รับบริการบางคนไม่เปิดใจ ไม่เข้าใจในสิ่งที่สอนเพราะการสอนแบบเดิม เป็นการ สื่อสารทางเดียว ไม่มีการตรวจสอบว่าผู้รับบริการเข้าใจในสิ่งที่ถูกต้อง ไม่มีการเน้นจุดสำคัญ ประเมินได้จาก หลังจากกลับบ้านผู้รับบริการไม่ได้นำไปปฏิบัติจริง เช่น ไม่ลงบันทึกสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กอย่าง ต่อเนื่อง จึงทำให้ผลลัพธ์ตัวชี้วัดไม่เป็นที่น่าพอใจ ทางคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์หนึ่ง โรงพยาบาลเทพา จึง ได้มีการนำแนวคิด BBL (Brain-based Learning) มาปรับกระบวนการโรงเรียนพ่อแม่ มาใช้กับ ผู้รับบริการโดยเริ่มแรกมีการแนะนำตัว กล่าวคำทักทายเพื่อสร้างความคุ้นเคย มีการเปิดสมองโดยพาทำกิจกรรม ก่อนเริ่มการสอนทำให้ผู้รับบริการรู้สึกผ่อนคลายมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ หลังจากนั้นผู้สอนได้เริ่มการสอนและ สาธิตโดยเน้นจุดสำคัญของขั้นตอนต่างๆและให้ผู้รับบริการได้ฝึกปฏิบัติทุกคนโดยมีผู้สอนคอยประกบช่วยเหลือ หลังจากนั้นได้มีการพูดคุยสรุป และเปิดให้มีการ ซักถาม REFLECTION ของผู้รับบริการเพื่อจะได้ทราบว่า ผู้รับบริการยังมีความไม่มั่นใจหรือขาดทักษะขั้นตอนไหน ผู้สอนจะได้ช่วยเสริมตรงจุดนั้นทำให้ผู้รับบริการ สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและมั่นใจเมื่อกลับไปปฏิบัติที่บ้าน นอกจากนี้ การปรับปรุงครั้งนี้ มุ่งหวังให้ผู้รับบริการเกิดความเข้าใจ รู้จุดสำคัญ ข้อควรระวัง ทำให้สามารถเรียนรู้และ ปฏิบัติได้ถูกต้อง เด็กมีสุขภาพกายและใจที่ดี ไม่กลัวโรงพยาบาล คุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่ สนใจฟังนิทานมากขึ้น ผู้รับบริการมีความสุขในการเรียนการสอน สังเกตจากสีหน้าแววตา การให้ความร่วมมือ และมีความอบอุ่นที่สามีมีส่วนร่วมทุกกิจกรรม ตั้งแต่มาฝากครรภ์ สู่มารดาตั้งครรภ์คุณภาพ

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมบริโภคอาหารที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด
    ขนาดปัญหา 70.00 เป้าหมาย 90.00
  • 2. ลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ลดลง
    ขนาดปัญหา 8.00 เป้าหมาย 5.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 30.00
  • 4. ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าร้อยละ10
    ตัวชี้วัด : ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าครั้งแรก
    ขนาดปัญหา 14.00 เป้าหมาย 9.00
  • 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กอสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์และการดูแลเด็ก 0-5 ปี
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองอสม. มีความรู้และมีทักษะ สามารถนำไปปฏิบัติตนและแผยแผ่ให้กับบุคคลอื่นได้
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ การตั้งครรภ์
    รายละเอียด

    แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ การตั้งครรภ์ทั้งหมด 6 ครั้ง ได้แก่ 1.1 เรื่องเลือดที่ต้องตรวจ
    1.2 โภชนาการหญิงตั้งครรภ์ 1.3 สัณญาณชีวิตลูก(นับลูกดิ้น) 1.4 พัฒนาการทารกในครรภ์
    1.5 เตรียมตัวก่อนคลอด 1.6 เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 20 คนx 6 ครั้ง =3,600บาท -ค่าวัสดุ อุปกรณ์ จำนวน 1,140 บาท -ค่าวัตถุดิบอาหาร จำนวน 500 บาท -ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.5 x2 เมตร จำนวน 4 แผ่นๆละ 450 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

    งบประมาณ 7,040.00 บาท
  • 2. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี
    รายละเอียด

    แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี ทั้งหมด 5 ครั้ง ได้แก่ 2.1 ประเมินการเจริญเติบโตตามวัย 2.2 โภชนาการเด็ก0-5 ปี
    2.3 ฉลาดรู้ด้วยนิทาน 2.4 สร้างภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
    2.5 การป้องกันอุบัติเหตุในเด็ก - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 40 คนx 5 ครั้ง = 6,000 บาท -ค่าวัสดุ อุปกรณ์ จำนวน 1,200 บาท -ค่าวัตถุดิบอาหาร จำนวน 500 บาท

    งบประมาณ 7,700.00 บาท
  • 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และ เด็ก0-5 ปี
    รายละเอียด

    1.1 คืนข้อมูลให้แก่ ผู้นำชุมชนอสม.ศูนย์เด็กเล็ก 1.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาและดูแลหญิงตั้งครรภ์ เด็ก 0-5 ปี ให้มีคุณภาพ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
    30 บาท x 50 คน= 1,500 บาท -ค่าวัสดุ -อุปกรณ์ 1,750 บาท

    งบประมาณ 3,250.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ม.1 เทศบาลตำบลเทพา ในเขตรับผิดชอบคลินิกเวชปฎิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์หนึ่ง โรงพยาบาลเทพา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 17,990.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.อสม.มีความรู้และมีทักษะในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี 2.ผู้ปกครองเด็กสามารถประเมินการเจริญเติบโต พัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการของบุตรตนเองได้
3.หญิงตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม
4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และ เด็ก0-5 ปี

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา รหัส กปท. L5190

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา รหัส กปท. L5190

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 17,990.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................