กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเเยกขยะเพื่อสุขภาพ โรงเรียนบ้านอุไร
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านอุไร
กลุ่มคน
1. นายเกรียงศักดิ์ แดวากม ผู้ประสานงานคนที่ 1 เบอร์โทร 0-8013-96597

2. นายสนันท์ มณีโส๊ะ ผู้ประสานงานคนที่ 2 เบอร์โทร 0-8729-28386

3. นางสุวิมล จิตเที่ยง ผู้ประสานงานคนที่ 3 เบอร์โทร 0-8169-83611

4. นางสุภาพร สันหลี

5. นางสาวรอฮานิง อาแว
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อกันว่าการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นเพราะการเปลี่ยนแปลงของก๊าซในบรรยากาศ สาเหตุใหญ่มาจากมนุษย์เป็นผู้กระทำ และเชื่อกันว่า อุณหภูมิของโลกที่ สูงขึ้นเป็นผลเนื่องมาจากปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากการสะสมของก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) ในชั้นบรรยากาศมากกว่าปกติ เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของก๊าชเรือนกระจกจะทำให้บรรยากาศโลกกักเก็บพลังงานความร้อนเพิ่มขึ้น ซึ่งสภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นสาเหตุใหญ่ คือ มนุษย์ ซึ่งเป็นผู้เพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกมากจนเกินไป หากเป็นสภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โลกจะกลับมาสู่สภาวะที่สมดุลได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นส่วนที่มนุษย์เป็นผู้กระทำ มนุษย์ก็สามารถแก้ปัญหานั้นได้ ถึงแม้ว่าการที่โลกจะกลับมาสูสภาวะสมดุลได้จะต้องใช้เวลานานก็ตาม แต่เราก็สามารถบรรเทาผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตให้มีความรุนแรงลดน้อยลงได้

ปัจจุบันมีปริมาณขยะเกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชนเป็นจำนวนมากซึ่งประกอบด้วย ขยะอินทรีย์ได้แก่เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ ฯลฯ ขยะรีไซเคิลได้แก่ ขวดน้ำ ขวดแก้ว กล่องนม ขวดน้ำผลไม้ ฯลฯ และขยะทั่วไป ได้แก่ ถุงพลาสติก ถุงขนม ฯลฯ ขยะอันตราย ได้แก่ หลอดไฟแบบต่างๆ ถ่านไฟฉาย กระป่องสเปรย์ ฯลฯ จากการสำรวจขยะในโรงเรียนในแต่ละวันมีปริมาณขยะวันละ 15 กิโลกรัม และมีนักเรียนที่สามารถแยกขยะอย่างถูกวิธีจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23 ของนักเรียนทั้งหมด และใน 1 สัปดาห์รถขยะจะเก็บขยะในโรงเรียนและชุมชนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทำให้ขยะส่งกลิ่นเหม็นและเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคต่างๆ เกิดมลพิษทางกลิ่น ส่งผลต่อสุขภาพ ทำให้ได้รับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ทำให้มีสุขภาพจิตที่ไม่ดี

ทางโรงเรียนจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางให้กับนักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยลดปริมาณขยะในโรงเรียนและลดปัญหาขยะที่ตกค้างในชุมชนได้อีกทางหนึ่งอีกทั้งยังเป็นการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดการใช้พลังงานและลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนในโรงเรียนจะร่วมมือกันลดและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นด้วยการคัดแยกขยะให้ถูกประเภทและนำวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้เข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลเพื่อใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดปริมาณขยะในโรงเรียนและชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ70 ของโรงเรียนและชุมชนมีปริมาณขยะลดลง 2. นักเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 สามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธี
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 70.00
  • 2. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและโรคที่มาจากขยะเพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและโรคที่มากับขยะเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดตั้งแกนนำ(อถล)และเก็บข้อมูลขยะในโรงเรียนและชุมชน
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    1.คัดเลือกนักเรียนแกนนำ(อถล.)ห้องละ 2 คน
    2.ให้นักเรียนแกนนำ(อถล.) เป็นผู้ประสานในห้องเรียนกับครูประจำชั้น
    3.จดบันทึกปริมาณขยะในโรงเรียนทุกวัน
    4.จดบันทึกขยะในครัวเรือนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ทุกวัน

    งบประมาณ

    • แบบบันทึกปริมาณขยะ 26 เล่ม เล่มละ 25 บาท เป็นเงิน 650 บาท


      เป้าหมาย

    -โรงเรียนบ้านอุไร

    • ครัวเรือนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จำนวน 26 ครัวเรือน
    งบประมาณ 650.00 บาท
  • 2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะเเละโรคที่มากับขยะเเก่ผู้ร่วมโครงการ
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    1.ให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครองเเละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านอุไรเกี่ยวกับการคัดเเยกขยะที่ถูกวิธีและโรคที่มากับขยะ

    2.ประเมินผล/สรุปผลการดำเนินงาน

    งบประมาณ

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท

    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คนๆละ 1 มื้อๆละ 65 บาท เป็นเงิน 6,500บาท

    • ค่าตอบแทนวิทยากร 2 ท่าน จำนวน 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

    • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.5 x 3.0 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 675 บาท

    • ค่าถ่ายเอกสารจัดทำคู่มือ จำนวน 100 เล่มๆละ 25 บาทเป็นเงิน 2,500 บาท

    รวมเป็นเงิน 17,075 บาท

    เป้าหมาย

    • นักเรียน ทั้งหมด 65 คน
    • ครูและบุคลากร 10 คน
    • ผู้ปกครองนักเรียน 25 คน

    กำหนดการ อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะเเละโรคที่มากับขยะเเก่ผู้ร่วมโครงการ

    8.00 - 8.30 น.ลงทะเบียนอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะเเละโรคที่มากับขยะเเก่ผู้ร่วมโครงการ

    8.30 - 10.30 น. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะผู้ร่วมโครงการ

    10.30 - 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    11.00 - 12.00 น กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ผู้ร่วมโครงการ (ต่อ)

    12.00 - 13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 -14.00 น. กิจกรรมสันทนาการเรื่องการคัดแยกขยะ

    14.00 - 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    14.30 - 16.00 น. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กับโรคที่มากับขยะเเก่ผู้ร่วมโครงการ

    งบประมาณ 17,075.00 บาท
  • 3. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีและโรคที่มากับขยะ
    รายละเอียด

    1.เดินรณรงค์การคัดแยกขยะและโรคที่มากับขยะ

    งบประมาณ

    1.ทำป้ายรณรงค์เกี่ยวกับการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี และโรคที่มากับขยะ เป็นเงิน 3,600 บาท

    2.แผ่นพับให้ความรู้กี่ยวกับการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี และโรคที่มากับขยะ เป็นเงิน 650 บาท

    เป้าหมาย

    • นักเรียน 65 คน
    • ครูและบุคลากร 10 คน
    งบประมาณ 4,250.00 บาท
  • 4. ติดตามพฤติกรรมในการคัดเเยกขยะ
    รายละเอียด

    ติดตามพฤติกรรมการคัดเเยกขยะของนักเรียนเเละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านอุไร เเละบันทึกผลสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. ทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและขยะมูลฝอย
    รายละเอียด

    1.ให้ความรู้เกี่ยวการทำน้ำหมักชีวภาพ

    2.ครูและนักเรียนร่วมกันทำน้ำหมักชีวภาพ

    เป้าหมาย

    • นักเรียน 65 คน
    • ครูและบุคลากร 10 คน

    งบประมาณ

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 75 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท

    • ค่าตอบแทนวิทยากร 1 ท่าน จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

    • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.5 x 3.0 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 675 บาท

    • ถังน้ำ 20 ลิตร 5 ถัง ถังละ 139 บาท เป็นเงิน 695 บาท

    • กากน้ำตาล เป็นเงิน 500 บาท

    รวมเป็นเงิน 6,820 บาท

    กำหนดการการให้ความรู้ ส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและขยะมูลฝอย

    8.00 - 8.30 น.ลงทะเบียนส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและขยะมูลฝอย

    8.30- 10.30 น. กิจกรรมส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและขยะมูลฝอย

    10.30 - 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    11.00 - 12.00 น กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การคัดแยกขยะแก่ผู้ร่วมโครงการ (ต่อ)

    12.00 - 13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 - 14.00 น. ลงมือปฏิบัติส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและขยะมูลฝอย

    14.00 - 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    14.30 - 16.00 น. ลงมือปฏิบัติส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารและขยะมูลฝอย (ต่อ)

    งบประมาณ 6,820.00 บาท
  • 6. ผักสวนครัวปลอดสารพิษ
    รายละเอียด

    รายละเอียด - ปลูกผักปลอดสารพิษโดยใช้น้ำหมักชีวภาพ

    งบประมาณ

    • เมล็ดผัก เป็นเงิน 1000 บาท

    เป้าหมาย

    • นักเรียน 65 คน

    • ครูและบุคลากร 10 คน

    งบประมาณ 1,000.00 บาท
  • 7. จัดทำรูปเล่มรายงานโครงการคัดแยกขยะ
    รายละเอียด
    • จัดทำรูปเล่มรายงาน งบประมาณ จัดทำรูปเล่ม 3 เล่ม เป็นเงิน 1000 บาท
    งบประมาณ 1,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 20 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านอุไร

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 30,795.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ปริมาณขยะในโรงเรียนและชุมชนลดลง
  2. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและโรคที่มากับขยะ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 30,795.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................