กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

สำนักเลขานุการ กองทุนฯ

สำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)

 

79.97
2 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดเงินคงเหลือสะสมของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบตใอุใดเจริญ

1.เงินสะสมของกองทุน มีเงินคงเหลือสะสม ไม่เกินร้อยละ 50
2. สัดส่วนเงินคงเหลือสะสมไม่เกิน 1 เท่าของรายรับ

79.97 50.00
2 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

79.97 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 21

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมให้มีการบริหารเงินกองทุนฯ โดยสนับสนุนแก่ผู้รับทุน

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมให้มีการบริหารเงินกองทุนฯ โดยสนับสนุนแก่ผู้รับทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน ไม่น้อยกว่า 4 ครั้งต่อปี รววเงิน 53,200 บาท
    • ค่าตอบการประชุมแทนคณะกรรมการ21คน*400 บาท *4 ครั้ง = 33,600 บาท
    • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 21 คน25บาท4 ครั้ง = 2,100 บาท
    • ค่าตอบแทนอนุกรรมการ 10คน * 4 ครั้ง *300 บาท = 12,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 10 คน 4 ครั้ง25 บาท = 1,000 บาท
    • ค่าตอบแทนการประชุมคณะทำงาน 10 คน2 ครั้ง200 บาท = 4,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 10 คน * 2 ครั้ง *25 บาท = 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. คณะมีการประชุมเพื่ออนุมัติสนับสนุนงบประมาณตามโครงการ ให้ผู้รับทุน อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี
  2. ผู้รับทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพ สามารถเขียนโครงการที่ดีเพื่อเสนอรับทุน จากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.อุใดเจริญขียนโครงการที่ดี
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
53200.00

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการการบริหารกองทุนฯและหน่วยงาน องค์กรผู้รับทุน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการการบริหารกองทุนฯและหน่วยงาน องค์กรผู้รับทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมเชิงปฏิบัติการบริหารจัดการกองทุน เกี่ยวกับระเบียบ บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ และการเขียนโครงการอย่างง่ายสำหรับผู้รับทุน
  2. การถอดบทเรียนและประเมินคุณค่าโครงการ
    • ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1*4 เมตร เป็นเงิน 450 บาท
    • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน * 25 บาท * 2 มื้อ  เป็นเงิน  1,750 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 35 คน * 80 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
    • ค่าวิทยากร 5 ชั่วโมง* 600 บาท เป็นเงิน 3000 บาท
    • ค่าเอกสารการอบรมพร้อมอุปกรณ์ 35 ชุด*60 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท



    1. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนสุขภาพตำบล
    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง* 600 บาท  เป็นเงิน 3,600 บาท
    • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน*25 บาท จำนวน 4 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
    • ค่าอาหาร จำนวน 4 มื้อ* 100 บาท *35 คน เป็นเงิน 14,000 บาท

- ค่าของที่ระลึก จำนวน 2 ชิ้น เป็นเงิน 2,000 บาท - ค่ายานพาหนะ วันละ 12,000 บาท * 2 วัน เป็นเงิน 24,000 บาท รวมเงิน 57,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบ และบทบาทหน้าที่ ตามประกาศฯ
  2. ผู้รับทุนฯมีความรู้ สามารถเขียนโครงการอย่างง่ายได้
  3. กองทุนฯ มีแนวทาง วิธีการการบริหารจัดการกองทุนฯที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
57200.00

กิจกรรมที่ 3 การบริหารจัดการกองทุนฯให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

ชื่อกิจกรรม
การบริหารจัดการกองทุนฯให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. การจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน ของกองทุนฯ   - ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4  ตราประทับ นำ้ยาลบคำผิด ลวดเย็บกระดาษ ฯลฯ
  2. ค่าครุภัณฑ์ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน เช่น เครื่องโปรเจคเตอร์พร้อมอุปกรณ์ ชุดลำโพงเคลื่อนที่พร้อมอุปกรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีอุปกรณ์ที่จำเป็นพร้อมสำหรับการบริหารจัดกรกองทุนฯให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8728.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 119,128.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เงินสะสมของกองทุน มีเงินคงเหลือสะสม ไม่เกินร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับรายรับของปีถัดไป
2. สัดส่วนเงินคงเหลือสะสมไม่เกิน 1 เท่าของรายรับของปีถัดไป


>