กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา รหัส กปท. L5190

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์1โรงพยาบาลเทพา
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มักเกี่ยวกับโรคกระดูกและข้อเนื่องจากอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และข้อที่เสื่อมมากที่สุดคือข้อเข่า เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่ต้องรองรับน้ำหนักของร่างกายโดยตรง ทั้งยังทำหน้าที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา ทำให้ข้อเสื่อมได้ง่าย โรคข้อเข่าเสื่อม หมายถึง การที่กระดูกอ่อนของข้อมีการเสื่อมสภาพ ทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนักและมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำหล่อเลี้ยงเข่าทำให้มีอาการปวด บวม แดงร้อนที่เข่า ซึ่งเป็นโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงการเสื่อมในกลุ่มอายุที่มีอายุ 60ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ตำแหน่งของข้อที่มีการเสื่อม ได้แก่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลัง และข้อเท้า แต่ข้อที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อการเจ็บป่วย และต้องเข้ารับบริการมากที่สุด คือ ข้อเข่า ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว โดยทั่วไปจะรับการรักษาด้วยยา เช่น ยาแก้ปวดลดการอักสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ยาคลายกล้ามเนื้อ ซึ่งยาดังกล่าวหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น แผลในกระเพาะอาหาร ไตวาย และความดันโลหิตสูง พื้นที่เขตเทศบาลตำบลเทพามีจำนวนผู้สูงอายุ 880 คน โดยมีผู้สูงอายุจำนวนมากที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อม ซึ่งคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว ศูนย์1โรงพยาบาลเทพาได้ตระหนักถึงการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตจึงนำศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม โดยจัดเป็นโปรแกรมบรรเทาอาการปวดเข่า ซึ่งมีกิจกรรม คือการนวดกดจุดสัญญาณ, การใช้สมุนไพรพอกเข่า ท่าบริหารกล้ามเนื้อด้วยท่าฤาษีดัดตน และการให้คำแนะนำ เพื่อลดอาการปวดเข่า อีกทั้งช่วยลดปัญหาผลข้างเคียงจากการใช้ยาแผนปัจจุบันดังนั้นคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวศูนย์1 โรงพยาบาลเทพา จึงได้จัดทำโครงการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในพื้นที่เทศบาลตำบลเทพา เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง ส่งเสริมให้ผู้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นนำมาทำยาพอกเข่าตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และตระหนักถึงคุณค่าในภูมิปัญญา

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 อาการปวดข้อเข่าในผู้สูงอายุลดลง
    ขนาดปัญหา 4.00 เป้าหมาย 2.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นนำมาทำยาพอกเข่า
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านแพทย์แผนไทยในการดูแลอาการปวดข้อเข่า
    ขนาดปัญหา 2.00 เป้าหมาย 4.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
    รายละเอียด
    1. ค่าไวนิลโครงการ จำนวน 1 ชิ้น ขนาด 1.6เมตร x 2 เมตร x150 บาท = 480 บาท
    2. ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 300 บาทx 6 ชั่วโมง x 2 ท่าน = 3,600 บาท
    3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วม วิทยากร และเจ้าหน้าที่
      30 บาท x2มื้อ x 43 คน= 2,580 บาท
    4. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วม วิทยากร และเจ้าหน้าที่ 50 บาทx43 คน = 2,150 บาท
    5. ค่าน้ำมันนวดตัวขวดใหญ่ (3ลิตร) ขวดละ 395 บาท x 2 ขวด = 790 บาท 6.ค่าขวดใส่น้ำมันขวดเล็ก 15 มิลลิลิตร ขวดละ3บาท x 80 ขวด = 240 บาท
    6. วัสดุอุปกรณ์ทำลูกประคบสมุนไพรประกอบด้วย 7.1 ไพลบดหยาบ กิโลกรัมละ 200 บาท x 4 กิโลกรัม = 800 บาท 7.2 ขมิ้นชันบดหยาบ กิโลกรัมละ 225 บาท x 4 กิโลกรัม = 900 บาท 7.3 ผิวมะกรูดแห้ง กิโลกรัมละ 90 บาท x 3 กิโลกรัม = 270 บาท 7.4 ใบมะขามแห้ง กิโลกรัมละ 85 บาท x 2 กิโลกรัม = 170 บาท 7.5 ใบส้มป่อยแห้ง กิโลกรัมละ 90 บาท x 2 กิโลกรัม = 180 บาท 7.6 ตะไคร้แห้ง กิโลกรัมละ 85 บาท x 2 กิโลกรัม = 170 บาท 7.7 ผ้าด้ายดิบสำหรับห่อลูกประคบสมุนไพร 1 พับ = 900 บาท 7.8 เชือกสำหรับมัดลูกประคบ 1 ม้วน= 130 บาท 7.9 พิมเสน กิโลกรัมละ 920 บาท x 2 กิโลกรัม = 1,840 บาท 7.10 การบูร กิโลกรัมละ 520 บาท x 2 กิโลกรัม = 1,040 บาท 7.11 เมนทอล กิโลกรัมละ 900 บาท x 2 กิโลกรัม = 1,800 บาท
    7. สมุนไพรพอกเข่า ประกอบด้วย 8.1 ผงไพล กิโลกรัมละ 200 x 3 กิโลกรัม = 600 บาท 8.2 ผงฟ้าทะลายโจร กิโลกรัมละ 290 x 5 กิโลกรัม = 1,450 บาท 8.3 ผงรางจืด กิโลกรัมละ 180 x 3 กิโลกรัม = 540 บาท 8.4 ผงสมุนไพรห้าราก กิโลกรัมละ 250 x 4 กิโลกรัม = 1,000 บาท 8.5 ผงขมิ้นชันบดละเอียด กิโลกรัมละ 180 x 3 กิโลกรัม = 540 บาท 8.6 ผงดองดึง กิโลกรัมละ 560 x 3 กิโลกรัม = 1,680 บาท
    8. วัสดุอุปกรณ์กักน้ำมันประกอบด้วย 9.1 น้ำมันงา(1ลิตร) ขวดละ 270 บาท x 3 ขวด = 810 บาท 9.2 น้ำมันไพล(1ลิตร) ขวดละ 875 บาท x 2 ขวด = 1,740 บาท 9.3 ไดร์เป่าผม สำหรับกักน้ำมัน = 1,500 บาท
    9. ปากกา 1 กระปุก = 150 บาท
    10. สมุดบันทึก โหลละ 90 บาท x4 โหล = 360 บาท
    11. แฟ้มกระดุม โหลละ 80 บาท x 4 โหล = 320 บาท
    งบประมาณ 29,680.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

เทศบาลตำบลเทพา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 29,680.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมีอาการปวดลดลง 2.ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านแพทย์แผนไทยในการดูแลอาการปวดข้อเข่า

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา รหัส กปท. L5190

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา รหัส กปท. L5190

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 29,680.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................