กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ รหัส กปท. L6958

อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และการพัฒนาระบบ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ ประจำปีงบประมาณ 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สำนักเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ
3.
หลักการและเหตุผล

เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น มาตรา 47 แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (คณะกรรมการหลักฯ) สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามเจตนารมณ์สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) โดยกองทุนฯ มีวัตถุประสงค์สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่
ปี พ.ศ.2559 รัฐบาลให้ความสำคัญกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศ จึงมีนโยบายที่มุ่งเน้นการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย และ สปสช. เห็นชอบร่วมกันสนับสนุนให้ อปท. เป็นหน่วยงานหลักหรือเจ้าภาพในการบริหารจัดการพัฒนาระบบบริการดูแลระยะยาวฯ เพื่อให้เกิดบริการดูแลระยะยาวฯ เชิงรุกที่บ้าน หรือศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน ภายใต้การสนับสนุนของเครือข่ายหน่วยบริการประจำในพื้นที่เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ และในปี พ.ศ.2562 มีประกาศยกเลิกบทนิยามคำว่า “ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง” ในข้อ ๔ แห่งประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๖๑ และใช้ความต่อไปนี้แทน “ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง” หมายความว่า ผู้สูงอายุที่มีคะแนนประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index)เท่ากับหรือน้อยกว่าสิบเอ็ดคะแนน และบุคคลอื่นที่มีดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่าสิบเอ็ดคะแนน” องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ดำเนินการจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2553 เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ โดยส่งเสริมกระบวนการการมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ และในปี พ.ศ.2565 กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะได้เข้าร่วมดำเนินงานจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2561 จำเป็นจะต้องมีงบประมาณเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ งบประมาณดำเนินการต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่งในแต่ละปีงบประมาณนั้น หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดได้รับเงินเพิ่มตามข้อ 7 วรรคสองอาจสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้อีกไม่เกินร้อยละ 5 กรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อจัดหาครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ให้สนับสนุนได้ในวงเงินตามความจำเป็น และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้เป็นทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
    ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการ และองค์กรผู้รับทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพ (คน)
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 100.00
  • 2. เพื่อให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครบตามประกาศฯ
    ตัวชี้วัด : มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครบตามประกาศฯ
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 100.00
  • 3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
    ตัวชี้วัด : ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 90.00
  • 4. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ แก่ผู้รับทุน
    ตัวชี้วัด : กองทุนฯ มีการส่งเสริมการใช้เงินแก่ผู้รับทุน
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 100.00
  • 5. เพื่อส่งเสริมให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามประกาศฯ พ.ศ.2561
    ตัวชี้วัด : การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามประกาศฯ พ.ศ.2561
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 100.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 1
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม
    1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา จำนวน 21 คน คนละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท 2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 11 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,300 บาท
    3. ค่าตอบแทนคณะทำงาน จำนวน 4 คน คนละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท
    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 36 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 900 บาท

    งบประมาณ 13,400.00 บาท
  • 2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 2
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม
    1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา จำนวน 21 คน คนละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท 2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 11 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,300 บาท
    3. ค่าตอบแทนคณะทำงาน จำนวน 4 คน คนละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท
    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 36 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 900 บาท

    งบประมาณ 13,400.00 บาท
  • 3. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 3
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม
    1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา จำนวน 21 คน คนละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท 2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 11 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,300 บาท
    3. ค่าตอบแทนคณะทำงาน จำนวน 4 คน คนละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท
    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 36 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 900 บาท

    งบประมาณ 13,400.00 บาท
  • 4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ครั้งที่ 4
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม
    1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา จำนวน 21 คน คนละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท 2. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 11 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,300 บาท
    3. ค่าตอบแทนคณะทำงาน จำนวน 4 คน คนละ 200 บาท เป็นเงิน 800 บาท
    4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 36 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 900 บาท

    งบประมาณ 13,400.00 บาท
  • 5. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ (LTC) ครั้งที่ 1
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม
    1. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 10 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท

    งบประมาณ 3,250.00 บาท
  • 6. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ (LTC) ครั้งที่ 2
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายสำหรับการประชุม
    1. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการ จำนวน 10 คน คนละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท

    งบประมาณ 3,250.00 บาท
  • 7. ค่าใช้จ่ายสำหรับการเดินทางไปราชการ
    รายละเอียด

    ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะชดเชยค่าน้ำมัน และค่าที่พักเป็นต้น

    งบประมาณ 12,000.00 บาท
  • 8. ค่าจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์
    รายละเอียด

    จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์ สำหรับการบริหารจัดการกองทุนฯ

    งบประมาณ 10,950.00 บาท
  • 9. อบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพให้กับคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ คณะทำงานกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการฯ (LTC) ในการบริหารงานกองทุนฯ และกลุ่มผู้รับการสนับสนุนงบประมาณ
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายสำหรับกิจกรรม 1. ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 2 วันๆ ละ 80 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 80 บาท  เป็นเงิน 12,800 บาท
    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 วันๆ ละ 80 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 11,200 บาท
    3. ค่าจัดซื้อวัสดุในการอบรมพร้อมเอกสารในการอบรม จำนวน 80 ชุดๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
    4. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    5. ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.5*3 เมตรๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,350 บาท

    งบประมาณ 40,950.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 124,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ รหัส กปท. L6958

อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุกาสาเมาะ รหัส กปท. L6958

อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 124,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................