กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ในตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ

พื้นที่ ม.1-ม.4 และ ม.8 ตำบลดุซงญอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 คนพิการ หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญาและการเรียนรู้หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุป

 

285.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน

 

0.00
2 2.เพื่อให้ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง

 

0.00
3 3.เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ

 

0.00
4 4.เพื่อค้นหาและสำรวจคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้

 

0.00
5 5.เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแลมีคุณภาพชีวิต(จิตใจ) ที่ดีขึ้น

 

0.00
6 6.เพื่อออกเยี่ยมบ้านดูแลผู้พิการที่อยู่ห่างไกลและไม่สามารถเข้าถึงหน่วยบริการสาธารณสุขได้ พร้อมทั้งค้นหาคนพิการรายใหม่ที่ยังไม่มีบัตรคนพิการ

 

0.00
7 7.เพื่อนำปัญหาที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้พิการมาปรับปรุงแก้ไขการบริการงานภาครัฐต่อไป

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 285
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ (ทั้งที่ช่วยเหลือตนเองได้และไม่สามารถช่วยตนเองได้)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ (ทั้งที่ช่วยเหลือตนเองได้และไม่สามารถช่วยตนเองได้)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวัสดุในการอบรมคนพิการและผู้ดูแลคนพิการ (ติดเตียง, ติดบ้าน) เช่น สื่อให้ความรู้การทำกายภาพบำบัด วัสดุการทำกายภาพ เป็นต้น จำนวน 285 ชุด ๆ ละ 130 บาท เป็นเงิน 37,050 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันในการจัดอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้พิการ ทั้งที่ติดเตียงและติดบ้าน (ไม่สามารถดูแลตนเองได้) และติดสังคม จำนวน 285 คน จำนวน 1 มื้อ ๆ ละ 45 บาท เป็นเงิน 12,825 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 285 คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 14,250 บาท 4.ค่าวิทยากรในการจัดอบรมให้ความรู้ จำนวน 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 5.ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการขนาด 1*2 เมตร จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 700 บาท เป็นเงิน 700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ความพึงพอใจจากผู้ดูแลและผู้พิการต่อการออกเยี่ยมบ้านดังกล่าวโดยการแสดงออกทางพฤติกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
66625.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 66,625.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพมากขึ้น และสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
2.ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง
3.ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ
4.สามารถค้นหาและสำรวจคนพิการรายใหม่ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
5.ผู้พิการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
6.ผู้พิการที่อยู่พื้นที่ห่างไกล และผู้ที่ไม่เคยมารับบริการสาธารณสุข สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
7.ภาครัฐสามารถนำปัญหาที่ได้จากการจัดทำโครงการมาปรับใช้ในการทำงานและสามารถสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้พิการได้ตรงจุด


>