กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพลังชุมชนร่วมใจสร้างสุขภาพดี ด้วยวิถีแพทย์แผนไทย ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลดุซงญอ

พื้นที่ม.1-ม.4 และ ม.8 ตำบลดุซงญอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 อาการคันเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยเดือดร้อน ทำให้นอนไม่หลับ หงุดหงิด การเกาหรือแกะผิวหนังอย่างมาก ทำให้อาการผิวหนังอักเสบกำเริบมากขึ้น มีน้ำเหลืองออกมาที่ผิวหนัง ยิ่งทำให้อาการคันกระจายไปทั่วตัวที่ ชาวบ้านเรียกว่า “น้ำเหลืองเสีย” ความผิดปกติภายในร่างกา

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับสมุนไพร ในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆจากสมุนไพร นำไปใช้ในครัวเรือน

 

100.00 100.00
2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

 

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนได้ร่วมกิจกรรมกลุ่มเกิดผลผลิต และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 

0.00
4 4.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนใช้ยาสมุนไพรช่วยบรรเทาอาการคัน ผิวหนังอักเสบ

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าจ้างเหมาประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน จำนวน 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท (แบ่งเป็น 2 รุ่น)
  2. ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1*2 เมตร ๆ ละ 350 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 700 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.อสม.และประชาชนที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการผลิตและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.อสม.และประชาชนที่เข้าร่วมอบรมสามารถดูแลตัวเองได้โดยวิถีพื้นบ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5700.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการทำผลิตภัณฑ์แก้คัน

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการทำผลิตภัณฑ์แก้คัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าจัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์ในการสาธิตการทำผลิตภัณฑ์ยาบรรเทาอาการคัน เช่น เหงือกปลาหมอ ทองพันชั่งพญายอขมิ้นชัน มะขามป้อมกลีเซอรีนใส่ นำ้ยาต้ม กลีเซอรีนน้ำ น้ำมันหอมระเหย เป็นเงิน 9,700 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.อสม.และประชาชนที่เข้าร่วมอบรมอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทยได้ 2.อสม.และประชาชนที่เข้าร่วมอบรมความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้ตนเองและครอบครัว

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ขั้นตอนการผลิตและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้
2. ส่งเสริมให้ประชาชนอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทย
3. ประชาชนที่ได้รับการอบรมมีความรู้แพทย์แผนไทย สามารถนำไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวได้
4. ลดอาการภาวะเสี่ยงจากโรคระบบผิวหนัง
5.รู้จักการใช้ยาสมุนไพรได้มากขึ้น


>