กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ"สตรีแบ่งปันรักปลูกผักปลอดภัย"

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง

เทศบาลตำบลอ่างทอง

ตำบลอ่างทอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาภาวะขาดแคลนอาหารที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตอันใกล้ และส่งเสริมบทบาทของสตรีในการดูแลความเป็นอยู่ของครอบครัวภายใต้ภาวะวิกฤต

 

70.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

70.00
3 เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาภาวะขาดแคลนอาหารที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตอันใกล้ และส่งเสริมบทบาทของสตรีในการดูแลความเป็นอยู่ของครอบครัวภายใต้ภาวะวิกฤต

 

75.00
4 ทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค

 

80.00
5 ลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช

 

70.00
6 ลดปริมาณสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ที่ปนเปื้อนในอากาศและน้ำ ซึ่งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษของสิ่งแวดล้อมได้ทางหนึ่ง

 

80.00

พื่อสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารในระดับครัวเรือน

ลดรายจ่ายในภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว มีภูมิคุ้มกันในการดำรงชีวิต

พร้อมทั้งรณรงค์ให้มีการปลูกผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษไว้รับประทาน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มสตรีปลูกพืชผักสวนครัวเป็นอาหารสะอาดปลอดภัยและลดรายจ่ายในการดำรงชีวิตในครอบครัว

เพื่อให้กลุ่มสตรีได้ช่วยเหลือเกื้อกูลและแบ่งปันพืชผักสวนครัวร่วมกัน จากครัวเรือนสู่ชุมชน

75.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้ในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมให้ความรู้ในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดฝึกอบรมให้ความรู้ในการบริโภคอาหารปลอดภัย ปลอดสารพิษ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 1 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมปลูกผักปลอดสาร จำนวน 30 ครัวเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมการปลูกผัก

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการปลูกผัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ครัวเรือนมีผักปลอดสารสำหรับรับประทานในครัวเรือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 1 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ฝึกอบรมการทำน้ำพริกชนิดต่างๆ

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมการทำน้ำพริกชนิดต่างๆ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมฝึกอบรมการทำน้ำพริกพร้อมนำผลผลิตจากผักมาเป็นส่วนประกอบ -ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าอาหาร จำนวน 1 มื้อๆละ 70 บาท จำนวน 30 คน เป็นเงิน 2,100 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 30 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ 800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 1 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ครัวเรือนมีความรู้ในการทำน้ำพริกชนิดต่างๆ และนำไปประยุกต์เป็นอาหารเพื่อสุขภาพในครัวเรือน ครัวเรือนเก็บผลผลิตจากผักปลอดสารมาเป็นอาหารรับประทานกับน้ำพริก ซึ่งเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ ทำให้ไม่เกิดโรคอ้วน และลดรายจ่ายในครัวเรือน ครัวเรือนสามารถนำความรู้และทักษะในการทำน้ำพริกไปประยุกต์เพื่อต่อยอดในการทำเป็นอาชีพเสริมเพิ่่มรายได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 4 แบบติดตามประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
แบบติดตามประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ทำแบบประเมินความพึงพอใจ ติดตามตรวจเยี่ยมบ้านผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

มีครัวเรือนที่บริโภคผักปลอดสารเพิ่มขึ้น ทำให้สมาชิกในครัวเรือนมีสุขภาพที่ดี ลดภาวะเสี่ยงจากโรคต่างๆ ลดรายจ่ายในการซื่้อผักและลดรายจ่ายเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล อีกทั้งครัวเรือนสามารถมีรายได้เสริมจากการทำน้ำพริกจำหน่าย เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนอีกด้วย


>