กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น รหัส กปท. L3058

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก 1,000 วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านเจาะโบ ปี 2566
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจาะโบ
3.
หลักการและเหตุผล

ในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิตนับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงสองขวบปีแรกเป็นช่วงทองของเด็กที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาการสมองเพราะเป็นช่วงที่โครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุดทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงระหว่างเซลล์สมองเกิดเป็นโครงข่ายใยประสานนับล้านโครงข่าย ทำให้เกิดการสื่อสารระหว่างเซลล์อย่างมีประสิทธิภาพมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็กส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นเด็กจึงควรได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนในช่วงดังกล่าว โดย 270 วันอยู่ในท้องแม่ ช่วง 180 วัน (แรกเกิดถึง 6 เดือน) จากนั้น 550 วัน (หลัง 6 เดือนถึง 2 ปี) ลูกควรได้รับการเตรียมพร้อมสมองร่วมกับพัฒนาทักษะของเด็กโดยกระบวนการกระตุ้นผ่านกิจวัตรประจำวัน ในรูปแบบกิน กอด เล่น เล่า นอนเฝ้าดูฟัน ที่เหมาะสมจากผู้ปกครองและชุมชน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการสร้างเด็กไทยให้มีคุณภาพ
ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยจึงเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและสุขภาพที่แข็งแรง น้ำหนักทารกแรกเกิดเป็นข้อบ่งชี้ที่สำคัญของการเจริญเติบโตและการมีชีวิตรอดของทารก ทารกที่มีน้ำหนักน้อยว่า 2,500 กรัมมีอัตราการอยู่รอดต่ำ มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการล่าช้า ระบบภูมิคุ้มกันต่ำ จากการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจาะโบ ปีงบประมาณ 2565 พบว่าหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 64.29 (เป้าหมายมากกว่าร้อยละ 75) หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 62.96 (เป้าหมายร้อยละ 75 ) ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7.69 (เป้าหมายร้อยละ 7 ) เด็กอายุแรกเกิดถึง 6 เดือนได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 95.24 (เป้าหมายร้อยละ 50 ) เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 88 (เป้าหมายมากกว่าร้อยละ 85 ) ดั้งนั้นเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง ยั่งยืน และมีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านเจาะโบ จึงได้จัดทำโครงการ“ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก 1,000 วันแรกแห่งชีวิต”ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก 1,000 วันแรกแห่งชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านเจาะโบ ปี 2566
    รายละเอียด
    1. ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่ หญิงตั้งครรภ์และสามี และแกนนำสุขภาพในชุมชน ตามหลักสูตร เนื้อหาการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ 1,000 วันของชีวิต
      • การปฏิบัติตัวเมื่อตั้งครรภ์..เพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
      • นมแม่ดีที่หนึ่ง
      • การเตรียมตัวเพื่อคลอดและการดูแลเด็กแรกเกิด
      • อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์
    2. ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่ ผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก และแกนนำสุขภาพในชุมชน ตามหลักสูตร เนื้อหาการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 1,000 วันของชีวิต
      • ส่งเสริมเด็ก IQ EQ เด่นด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า เต้น วาด
      • การสร้างเสริมภูมิคุมกันด้วยวัคซีน
      • การสร้างวินัยเชิงบวกในเด็กปฐมวัย
      • อาหารตามวัย 1,000 วันแรกของชีวิตเพื่อเด็กสูงดีสมวัย
      • การดูแลสุขภาพปากและฟันเด็กปฐมวัย
    3. ติดตามประเมินผลโดยการลงเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย

    4. ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่ หญิงตั้งครรภ์และสามี และแกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 73 คน

    - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 73 คน เป็นเงิน 3,650 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 73 คน เป็นเงิน 3,650 บาท - ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 73 คนๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,650 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คนๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท รวมทั้งหมด เป็นเงิน 12,750 บาท 2. ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่ ผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก และแกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 73 คน - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 50 บาท จำนวน 73 คน เป็นเงิน 3,650 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 73 คน เป็นเงิน 3,650 บาท - ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 73 คนๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,650 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คนๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท รวมทั้งหมด เป็นเงิน 12,750 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 26,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจาะโบ หมู่ 1, 2, 8 ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 26,500.00 บาท

หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. ไม่เกินร้อยละ 10 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ครั้งที่ 1
  3. ร้อยละ 75 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
  4. ร้อยละ 100 หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการ(รพ.)
  5. ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่นาน 6 เดือน
  6. ร้อยละ 90 เด็กแรกเกิดถึง 2 ปี มีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน และฟันไม่ผุ
  7. ร้อยละ 75 เด็กแรกเกิดถึง 2 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  8. ร้อยละ 100 อสม. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น รหัส กปท. L3058

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น รหัส กปท. L3058

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 26,500.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................