กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สูงวัยใส่ใจห่วงใยสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง

ศูนย์ชมรมและกองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลโต๊ะเด็ง

ตำบลโต๊ะเด็ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) คือสังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมด (องค์การสหประชาชาติ) ตำบลโต๊ะเด็งมีประชากรทั้งหมด 7,514 คน เป็นผู้สูงอายุ 833 คน (ข้อมูลสำนักงานบริหารทัเบียน อำเภอสุไหงปาดี ณ เดือนสิงหาคม 2565) แสดงให้เห็นว่าตำบลโต๊ะเด็งกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างแท้จริง จากความเจริญทางด้านการแพทย์นั้นทำให้มนุษย์อายุยืนยาวขึ้น แต่การที่มีอายุยืนยาวก็ใช่ว่าจะมีสุขภาพดีเสมอไป ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังในตำบลโต๊ะเด็งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และพบว่าสาเหตุส่วนใหญ่เนื่องมาจากขาดผู้นำในการออกกำลังกาย และบางส่วนมีความเข้าใจว่าการป่วยเป็นโรคเรื้อรังหรือวัยที่สูงขึ้นนั้นไม่ควรออกกำลังกาย ซึ่งแท้จริงแล้วการออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัยนั้นเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการปรับตัวต่อความเสื่อมถอยของร่างกายของผู้สูงอายุ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรง สามารถป้องกันโรคเบาหวาน ลดไขมันและความดันในหลอดเลือดได้ นอกจากนั้นยังมีผลต่อจิตใจสามารถลดความเศร้าได้
องค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็ง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในเขตตำบลโต๊ะเด็ง การดูแลสุขภาพ สิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ การจัดทำอาหารและการรับประทานยา รวมทั้งการลบความคิดการไม่ออกกำลังกาย และการป้องกันการป่วยเป็นโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สูงวัยใสใจห่วงใยสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุในเขตตำบลโต๊ะเด็งที่จะขอรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องสภาวะของผู้สูงอายุการสร้างความพร้อมในสังคมสูงวัย

 

0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ทราบถึงสิทธิประโยชน์ที่ครอบคลุมเพื่อสร้างสุขภาพที่ดี

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 45
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2022

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 720 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อเป็นเงิน 2,700 บาท มื้อละ 60 บาท จำนวน 45 คน
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,700บาท
  • มื้อละ 30 บาท จำนวน 45คน
  • ค่าวิทยากร จำนวน 6 ซั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600บาท รวมเป็นเงิน9,720 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2022 ถึง 29 กันยายน 2023
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9720.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,720.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>