กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการใช้พืชสมุนไพรเพื่อรักษาโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ

รพ.สต.บ้านบูกิ๊ตจือแร

ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านบูกิ๊ตจือแร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปีแต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา ทำให้สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกได้ว่า “ภูมิปัญญาไทยโบราณ” ก็เริ่มถูกบดบังลงไปเรื่อย ๆ และถูกทอดทิ้งไปในที่สุด แต่ความเป็นจริงแล้วคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันบ้างแล้วว่าสมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่างกว้างขวางแต่เป็นเพราะเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมากจนวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลักถูกลืมจนต่อไม่ติด ทำให้เยาวชนรุ่นหลัง ๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมากและแทบจะไม่รู้จักเลยทั้ง ๆ ที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ ๆ ตัวเรานี้เอง เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนตำบลบูกิตรู้จักและใช้สมุนไพรในครัวเรือน ในการรักษาโรคเบื้องต้น และสามารถนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรและ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในชุมชนปลูกสมุนไพรใช้ในท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพ และให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่ออบรมให้ความรู้การใช้พืชสมุนไพรในการรักษาและป้องกันโรค

ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรและสามารถถ่ายทอดสู่ชุมชนได้

1.00
2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในครัวเรือน ในการรักษาโรคเบื้องต้น

ร้อยละ50ของครัวเรือน มีการปลูกและใช้สมุนไพร อย่างน้อย 3 ชนิด

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑.อบรมชาวบ้านที่สนใจให้รู้จักสรรพคุณทางยาของสมุนไพรและสามารถนำมาใช้รักษาโรคได้เบื้องต้น

ชื่อกิจกรรม
๑.อบรมชาวบ้านที่สนใจให้รู้จักสรรพคุณทางยาของสมุนไพรและสามารถนำมาใช้รักษาโรคได้เบื้องต้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน50 คน มื้อละ 30 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน3000 บาท ค่าอาหารกลางวันจำนวน 50 คน มื้อละ60 บาทเป็นเงิน3000 บาท ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ600 บาท จำนวน6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3600 บาท รวมเป็นเงิน9600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มกราคม 2566 ถึง 11 มกราคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 100 ผู้สนใจมีความรู้ในสรรพคุณของการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรคต่างๆ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9600.00

กิจกรรมที่ 2 2 . จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติ เพาะปลูกสมุนไพรเพื่อจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
2 . จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติ เพาะปลูกสมุนไพรเพื่อจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน  50 คน มื้อละ 30 บาท x วันละ  2 มื้อ x 3 วัน  เป็นเงิน  9000 บาท ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน 50 คน มื้อละ  60 บาท x 3 วัน  เป็นเงิน  9000 บาท ค่าป้ายศูนย์เรียนรู้ ฯ เป็นเงิน  800 บาท รวมเป็นเงิน  18800

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 มกราคม 2566 ถึง 13 มกราคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร จำนวน  1 แห่ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18800.00

กิจกรรมที่ 3 3.ติดตามสวนสมุนไพรและการปรับปรุงเพื่อจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน

ชื่อกิจกรรม
3.ติดตามสวนสมุนไพรและการปรับปรุงเพื่อจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 เมษายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถประเมินสิทธิภาพและประประสิทธิผลของกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 3.ติดตามสวนสมุนไพรและการปรับปรุงเพื่อจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน

ชื่อกิจกรรม
3.ติดตามสวนสมุนไพรและการปรับปรุงเพื่อจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 เมษายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถประเมินสิทธิภาพและประประสิทธิผลของกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนสามารถเลือกใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของตนเองได้ง่ายและถูกต้อง
2. มีพันธ์สมุนไพรชนิดต่างๆให้ประชาชนไปขยายพันธ์เพื่อใช้รักษาโรคของตนเอง
3. เพื่อประหยัดรายจ่ายในการใช้ยา
4. ลดอันตรายในการใช้ยาแผนปัจจุบัน


>