กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไม้ฝาด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไม้ฝาด

หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.

ตำบลไม้ฝาด อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

100.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน

ร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน

100.00 90.00
2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง

ร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง

100.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2,200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2022

กำหนดเสร็จ 30/04/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สำรวจกลุ่มเป้าหมายและจัดทำทะเบียนรายชื่อประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จัดทำแผนการปฏิบัติงานเชิงรุกตามโครงการ ประชุม อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ เจ้าหน้าที่สาธารณาุข และ อสม. ดำเนินการให้บริการตรวจคัดกรองตามแผนการปฏิบัติงาน โดยชั่งน้ำหนัก / วัดส่วนสูง วัดรอบเอว โดยสายวัดรอบเอว และคำนวณค่าดัชนีมวลกาย และซักประวัติตามแบบคัดกรอง พร้อมทั้งตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด (DTX) วัดความดันโลหิตสูง บันทึกลงในแบบฟอร์มการคัดกรองความเสี่ยงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกคน สรุปผลการคัดกรอง และแยกกลุ่มผู้ป่วยเป็น กลุ่มปกติ และกลุ่มที่พบภาวะเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หรือกลุ่มภาวะเสี่ยงสูงส่งต่อเพื่อพบแพทย์และตรวจยืนยันเพื่อเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 เมษายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
38172.00

กิจกรรมที่ 2 เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน แก่กลุ่มเสี่ยงสูง

ชื่อกิจกรรม
เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน แก่กลุ่มเสี่ยงสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานแก่กลุ่มเสี่ยง จำนวน 200 คนได้แก่ 1. ประเด็นความรู้ 2. ประเด็นการเรียนสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 เมษายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิต ได้รับความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 43,172.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองได้ว่าจัดอยู่ในกลุ่มปกติกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มสงสัยรายใหม่ในส่วนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3 อ. 2 ส. (อาหาร, อารมณ์, ออกกำลังกาย, ลดบุหรี่, ลดสุรา) เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ส่วนกลุ่มผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักษาอย่างทันเวลาทำให้ลดความรุนแรงของโรคและลดภาวะแทรกซ้อนได้


>