กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมือง ม่วงงาม ประจำปี 2566 (แผนงานที่ 4)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม

สำนักงานเลขากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองม่วงงาม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองม่วงงาม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามที่ เทศบาลเมืองม่วงงาม ได้เข้าร่วมจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 และได้ดำเนินงานประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มาจนถึงปีปัจจุบัน
ปี พ.ศ. 2566 ประกอบกับประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
พ.ศ. 2561 และฉบับแก้ไขจนถึงปัจจุบัน ซึ่งการดำเนินงานได้แบ่งออกเป็น 6 แผนงาน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในกลุ่มผู้สูงอายุ คนพิการ หญิงมีครรภ์ เด็กเล็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป โรคระบาดรวมไปถึง
การบริหารและพัฒนาคุณภาพของกองทุนฯ เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการและค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน
และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพที่เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าเดินทางไปราชการ และกิจกรรมในการพัฒนากองทุน
เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ ฝ่ายเลขานุการของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองม่วงงาม จึงได้ทำโครงการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองม่วงงาม ประจำปี 2566 (แผนงานที่ 4)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของกองทุนฯ

1.กองทุนฯ สามารถจัดการประชุม เพื่อพิจารณา อนุมัติโครงการ และการดำเนินงานของกองทุนฯ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศฯ 2. กองทุนฯ มีวัสดุอุปกรณ์พร้อมสำหรับการดำเนินงานของกองทุนฯ

0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อให้มีการดำเนินงานการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลม่วงงาม
  1. ผู้จัดการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข (Care Manager) ได้เขียน Care Paln ที่ทำให้ผู้สูงอายุที่ภาวะพึ่งพิงแต่ละกลุ่ม ได้รับการบริการที่ตรงตามวัตถุประสงค์ และความต้องการของผู้สูงอายุ
  2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในตำบลม่วงงาม ได้รับการดูแลจากผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver)
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/11/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ค่าตอบแทนการประชุม

ชื่อกิจกรรม
ค่าตอบแทนการประชุม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุนฯ  เป็นเงิน 45,600  บาท ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการกองทุนฯ  เป็นเงิน 21,000 บาท      - คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ      - คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการ ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง  เป็นเงิน 12,000 บาท ค่าตอบแทนคณะทำงานกองทุนฯ   เป็นเงิน 8,000   บาท ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพที่เข้าร่วมประชุม  เป็นเงิน 10,000   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
96600.00

กิจกรรมที่ 2 การจัดซื้อวัสดุ

ชื่อกิจกรรม
การจัดซื้อวัสดุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์   เป็นเงิน   20,000 บาท ค่าวัสดุสำนักงาน  เป็นเงิน  8,876  บาท กล่องพลาสติกอเนกประสงค์ ขนาด 300 ลิตร จำนวน 2 กล่อง  เป็นเงิน 1,900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30776.00

กิจกรรมที่ 3 ค่าเดินทางราชการ

ชื่อกิจกรรม
ค่าเดินทางราชการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าเดินทางไปราชการ 10,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 4 ค่าจัดโครงการพัฒนาศักยภาพ

ชื่อกิจกรรม
ค่าจัดโครงการพัฒนาศักยภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าจัดโครงการ 20,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

กิจกรรมที่ 5 ค่าเลี้ยงรับรองการประชุม

ชื่อกิจกรรม
ค่าเลี้ยงรับรองการประชุม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าเลี้ยงรับรองการประชุม เป็นเงิน 7,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 164,376.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.จัดประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะทำงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อพิจารณากลั่นกรอง โครงการ/กิจกรรมต่างๆ
2. มีวัสดุสำนักงานพร้อมต่อการดำเนินงานของกองทุน
3. ที่ปรึกษา คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน เจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ และภาคีเครือข่าย ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานเกี่ยวกับกองทุน มากยิ่งขึ้น


>