กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการประชาสัมพันธ์โรคและภัยสุภาพในฤดูฝน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.มะนังดาลำ

อบต.มะนังดาลำ

ในชุมชนตำบลมะนังดาลำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ในช่วงฤดูฝนของทุกๆปี จะมีโรคและภัยที่มากับน้ำฝนโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคติดต่อ โรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าไปเพิ่มจำนวนในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเป็นจากตัวเชื้อโรคเอง หรือพิษที่เชื้อโรคนั้นปล่อยออกมา เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยทางอ้อมไปสู่คนปกติ บางครั้งเรียกว่าโรคติดเชื้อแทนคำว่าโรคติดต่อโดย โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนของทุกปีในตำบลมะนังดาลำจะมีฝนตกชุก มีความชื้นสูงเป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในตำบลมะนังดาลำ สามารถรู้ทันโรคและภัยสุภาพในฤดูฝน และเฝ้าระวังโรคติดต่อเช่น ได้แก่ โรคทางเดินหายใจ , โรคมากับอาหารและน้ำ , โรคมือเท้าปากและโรคติดต่ออื่นๆเป็นการกระตุ้นให้สามารถเตรียมความพร้อมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพที่จะมาในช่วงฤดูฝนของทุกๆกปีที่จะเกิดขึ้น องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังดาลำ จึงมีความจำเป็นต้องประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ตระหนักและให้ความสำคัญและเพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนได้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในฤดูฝนที่จะเข้ามาในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคและภัยสุขภาพในฤดูฝน
- ชุมชนเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคและภัยสุขภาพในฤดูฝน
- สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในช่วงฤดูฝนในชุมชนได้ในเบื้องต้น


>