กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านสะเอะ ประจำปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ

โรงเรียนบ้านสะเอะ

นางเพ็ญศรีผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสะเอะเบอร์โทร

โรงเรียนบ้านสะเอะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน

 

15.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

 

25.00

อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ดังนั้นควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนของโรงเรียนบ้านสะเอะ
นักเรียนที่มีภาวะสูงดีสมส่วน ลดลงจากร้อยละ 65.33 เป็นร้อยละ 65.05 ภาวะอ้วนและเตี้ยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 8.02 และร้อยละ 6.47 เป็นร้อยละ 11.65 และร้อยละ 10.39 เป็นเหตุให้เด็กวัยเรียนมีปัญหาทุพโภชนาการ ซึ่งเด็กวัยเรียนเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว การได้รับสารอาหารมากเกินไปหรือขาดสารอาหารจะมีผลกระทบต่อเด็กได้ผลกระทบที่พบประกอบด้วย ด้านสุขภาพร่างกายด้านสังคมและจิตใจ ด้านการเรียน และด้านเศรษฐกิจปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนนั้น พบว่ามี3 ปัจจัย ได้แก่ ส่วนบุคคลพฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทั้งปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนที่มีส่วนทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม จากการศึกษาข้อมูลสุขภาพของนักเรียน ปีพ.ศ.2564 และบริบทสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนบ้านพูด กรป.กลาง พบว่าโรงเรียนมีปัญหาด้านสุขภาพและพฤติกรรมที่เสี่ยงของนักเรียนที่จะต้องแก้ไขอีกมาก และในปัจจุบันนั้นพบว่ามีนักเรียนที่มีปัญหาโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน ร้อยละ5 ของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย ในขณะเดียวกันก็พบว่ายังมีนักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ18 ของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายซึ่งเกิดจากนักเรียนยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของตนเองทำให้นักเรียนส่วนหนึ่งยังมีปัญหาโรคอ้วนหรือผอมเกินไป การเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์ และขาดการออกกำลังกาย รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมรอบๆโรงเรียนที่เอื้อต่อการทำให้นักเรียนมีปัญหาโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่เกิดจากการขาดสารอาหาร การรับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ ถึงจะมีจำนวนการเกิดปัญหาโรคอ้วนหรือผอมเกินไปไม่มากแต่ถ้าหากไม่มีการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงก็จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กไม่ได้เต็มศักยภาพ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน เพื่อแก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนและที่สำคัญผู้ปกครองของเด็กนักเรียนจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของนักเรียนด้วย
โรงเรียนบ้านสะเอะจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสะเอะ ประจำปี 2565

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดภาวะอ้วน ของเด็ก 6-14 ปี

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน

15.00 6.00
2 เพิ่มจำนวนคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

25.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 02/01/2023

กำหนดเสร็จ : 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินโครงการ งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 1 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดหารวางแผนในการดำเนินกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์โครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์โครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาสัมพันธ์โครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 มกราคม 2566 ถึง 5 มกราคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • มีการประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่โดยใช้เสียตามสาย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมให้ความรู้ กินถูกต้องตามหลักโภชนาการ (Foods for health)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้ กินถูกต้องตามหลักโภชนาการ (Foods for health)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมให้ความรู้ กินถูกต้องตามหลักโภชนาการ (Foods for health)

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2566 ถึง 6 มกราคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ครูผู้ปกครอง แม่ครัวมีความรู้ กินถูกต้องตามหลักโภชนาการ (Foods for health) เพื่อนำไปดูแลเด็กนักเรียน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการปลกผักปลอดสารพิษ ผักสวนครัว รั้วกินได้

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการปลกผักปลอดสารพิษ ผักสวนครัว รั้วกินได้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ส่งเสริมการปลกผักปลอดสารพิษ ผักสวนครัว รั้วกินได้

1.กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ เป็นเงิน 5ม310 บาท - จอบ 5 ด้ามเป็นเงิน1,500บาท

- ช้อนปลูก 10 อันๆละ เป็นเงิน 350บาท

  • ส้อมพรวนดิน 10 อันๆเป็นเงิน 500บาท

  • บัวรดน้ำ 10 อันเป็นเงิน1,390 บาท

    • พันธุ์ผักบุ้ง 2 ก.ก.เป็นเงิน370บาท

    • ดินปลูก 30 กระสอบเป็นเงิน700บาท

    • ปุ๋ยคอก 10 กระสอบเป็นเงิน500 บาท รวมเป็นเงิน 5,310บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มกราคม 2566 ถึง 24 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • เด็กมีผักรับประทานอย่างเพียงพอ
  • เกิดเมนูอาหาร ที่ได้จากผักที่นักเรียนร่วมกันเพาะปลูก
  • เด็กชอบทานผักมากขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5310.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุก เพื่อเพิ่มแหล่งโปรตีน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุก เพื่อเพิ่มแหล่งโปรตีน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ะมาณปรมีการเลี้ยงปลาดุกในโรงเรียนเพื่อเพิ่มแหล่งโปรตีน

งบประมาณ 2.กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก เป็นเงิน 4,690 บาท

  • พันธุ์ปลาดุก 400 ตัวเป็นเงิน 1,000บาท

  • อาหารปลาดุห15กระสอบเป็นเงิน 3,690บาท

    รวมเป็นเงิน 4,690บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2566 ถึง 17 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • มีปลาดุกที่เป็นแหล่งโปรตีนให้เด็กรับประทาน
  • เด็กมีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้น
  • เด็กมีโภชนาที่สมวัย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4690.00

กิจกรรมที่ 6 ติดตามประเมินผลกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผลกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

มีการติดตามประมาณผลกิจกรรม โดยใช้แบบประเมินโภชนาการเด็ก ดูจากสมุดแสดงการเจริญเติบโตของเด็กนักเรียน

ระยะเวลาดำเนินงาน
27 กรกฎาคม 2566 ถึง 27 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีสมวัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>