กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดการยาขยะในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ

ชมรม อสม.ม.3 บ้านนาดา

1.นายมามะ สาและ
2.นางการีหม๊ะ สาและ
3.นางซารีฮะ สาและ
๔.นางสุไรณี อุมาแง
๕.นางคอลีเย๊าะ ยามา

ม.3 บ้านนาดา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากการเยี่ยมบ้านผุ้ป่วยปี2565 พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มียาขยะในบ้าน มีทั้งยาที่หมดอายุแล้วและยาที่เสื่อมสภาพแล้ว ปะปนรวมกันกับยาที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และเมื่อสอบถามผู้ป่วยว่าทำไมไม่กำจัดยาที่ไม่ใช้แล้วมักจะได้คำตอบว่าเสียดาย ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาต้

 

100.00

การจัดการยาขยะมีความสำคัญมากในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันอาการไม่พึงประสงค์จากยา จากการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยปี2565 จำนวน 20 ครัวเรือน พบว่าผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่มียาเหลือใช้อยู่ร้อยละ 100 และไม่มีการทำลายยา เนื่องจากเสียดายยา
ซึ่งยาที่ปะปนกันหรือยาเหลือใช้มีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดอันตรายได้ ไม่ว่าจะเป็นการกินยาซำ้ซ้อน และการกินยาที่เสื่อมสภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดยาขยะในชุมขน

ชุมชนม.3 บ้านนาดา ไม่พบยาขยะ

100.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 240
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/12/2022

กำหนดเสร็จ 15/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดการยาขยะในชุมชนม.3 บ้านนาดา

ชื่อกิจกรรม
จัดการยาขยะในชุมชนม.3 บ้านนาดา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อสม.ม.3บ้านนาดาประชุมชี้แจงโครงการและกำหนดวันในการจัดโครงการ 2.อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนครัวเรือนละ 1 คน เรื่องการจัดการยาขยะในครัวเรือน 2.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนม.3บ้านนาดานำยาเหลือใช้มารวมกันที่มัสยิดบ้านบราแง 3.อสม.ลงพื้นที่เพื่อรับยาเหลือใช้และไปทำลาย 4.มีการทำป้ายโครงการ 5.จัดตั้งถังเก็บยาเหลือใช้ประจำหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ใบ จำนวน 3 ใบ
6.กำหนดให้อสม.แต่ละหมู่บ้านเป็นผู้ทำลายยาเหลือใช้เดือนละ 1 ครั้ง 7.รายละเอียดการใช้งบประมาณ - ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x .......80....คน x 1 มื้อ x 3รุ่น เป็นเงิน........14,400.............บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม30 บาท x ...80..... คน x 2 มื้อ x 3รุ่นเป็นเงิน.........14,400.............บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน x 600 บาท x ......6..... ชั่วโมง x 3 วันเป็นเงิน ....10,800..........บาท - ค่าป้ายโครงการขนาด 1 x 3 เมตร 1 ผืนเป็นเงิน............. 800...........บาท - ค่า..กระดาษปรู๊ฟ 24 แผ่นเป็นเงิน..............100..........บาท - ค่า.....ปากกาเคมี 1 กล่อง...................................................เป็นเงิน.............. 150..............บาท - ค่าสมุดปกอ่อน เล่มละ 10 บาท X 240 เล่มเป็นเงิน.............2,400.............บาท - ค่าปากกา 5 บาท x 240 ด้ามเป็นเงิน.............1,200..............บาท - ค่ากระเป๋า 60 บาท x 240 ใบเป็นเงิน...........14,400..............บาท - ค่าถังเก็บยาขยะ 300 บาท x 3 ใบเป็นเงิน............... 900..............บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ..........59,550.................บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 ธันวาคม 2565 ถึง 15 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ไม่มียาขยะในครัวเรือนชุมชน ม.3 บ้านนาดา ประชาชนมีความรู้ในการจัดการยาขยะ มีสถานที่เก็บยาขยะของชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
59550.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 59,550.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ไม่มียาขยะในครัวเรือน
ชุมชนรู้จักการจัดการยาขยะที่ถูกต้อง


>