กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ รหัส กปท. L5284

อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กลุ่มงานกายภาพบำบัดโรงพยาบาลควนโดน
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล
อาการปวดไหล่ (frozen shoulder ) ไหล่ติด ยกแขนไม่สุด เป็นปันหาที่พบเจอเยอะในปัจจุบัน และกลุ่มที่เจอได้เยอะคือกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัจจุบันสถานการณ์ของผู้ป่วยในกลุ่มโรคเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเส้นเลือดสูง มีจำนวนผู้ป่วยที่มากขึ้น นำมาซึ่งการสูญเสียค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทางและเสียเวลาของคนไข้ที่มากขึ้น และหนึ่งในปันหาที่นักกายภาพบำบัดมักจะพบคือ ปันหาการปวดไหล่ หรือข้อไหล่อักเสบ ติดขัด ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งเมื่อเป็นแล้วจะใช้เวลาในการรักษาที่ยาวนานกว่ากลุ่มคนไข้ปกติ
อาการปวดไหล่หรือไหล่ติดคนไข้จะมีอาการปวด หรือยกแขนไม่สุด เนื่องจากมีสาเหตุจากการอักเสบของเนื้อเยื่อรอบข้อไหล่อักเสบ หรือ ฉีกขาด การไหลเวียนเลือดไม่ดี การขยับแขนน้อยลง หรือโรคบางชนิด อาการปวดไหล่ ถูกแบ่งออกเป็น 3 ระยะด้วยกัน ระยะแรกคือระยะเจ็บปวด คนไข้มักจะมีอาการปวดมาก และอาจปวดได้แม้ไม้ทำกิจกรรมที่ขยับแขนหรือข้อไหล่ใดใดเลยระยะที่ 2 คือระยะติดแข็ง ในระยะนี้คนไข้มักจะอาการปวดลดลง แต่อาการติดแข็งของข้อไหล่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน การรักษาในช่วงระยะนี้จะต้องใช้เวลาที่นานมากขึ้นเนื่องจากต้องลดปวดและเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ร่วมด้วย และระยะที่ 3 คือระยะที่อาการปวดค่อยๆลดลงและอาการติดแข็งค่อยๆลดลง แต่หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอาจมีอาการติดแข็งที่ยาวนานมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะมาพบนักกายภาพบำบัดเมื่อมีอาการปวดและข้อไหล่ติดแข็งไปแล้วหรือในบางรายไม่สามารถขยับแขนได้ นั่นคือระยะที่ 2 นั่นเอง ซึ่งทำให้ระยะเวลาในการรักษาต้องใช้เวลาและเครื่องมือที่เพิ่มมากขึ้น
แผนกกายภาพบำบัดได้เล็งเห็นถึงโอกาสที่จะลด หรือป้องกันการเกิดอาการปวดข้อไหล่หรือข้อไหล่ติดให้ลดลง ด้วยการสอนออกกำลังกายด้วยไม้พลองในผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง สืบเนื่องจากปีงบประมาณ 2564 ผู้ป่วยที่เข้ารับบริการในแผนกกายภาพบำบัดนั้น มีอาการข้อไหล่ติดแข็งคิดเป็นร้อยละ 6.5 ( 31 คน )และเป็นในกลุ่มโรคเรื้อรังถึง 75 % ทางแผนกกายภาพบำบัดโรงพยาบาลควนโดนจึงอยากเผยแพร่ความรู้ในการป้องกันอาการปวดไหล่และไหล่ติดในคนไข้กลุ่มนี้ จึงจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยสอนวิธีการออกกำลังกายโดยใช้ไม้พลองที่เพื่อป้องกันการเกิดอาการปวดไหล่ และข้อไหล่ติด ซึ่งจะส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังดีขึ้น และลดภาระค่าใช้จ่ายและค่ารักษาพยาบาลที่จะเกิดขึ้น หากคนไข้กลุ่มโรคเรื้อรังมีอาการปวดข้อไหล่หรือข้อไหล่ติดแข็งนั่นเอง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการปวดไหล่และไหล่ติด ข้อที่ 2เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองเพื่อลดอาการปวดและป้องกันอาการไหล่ติดได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองแก่ผู้อื่นได้
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับอาการปวดไหล่และไหล่ติด 2.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองเพื่อลดอาการปวดและป้องกันอาการไหล่ติดได้ 3.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองแก่ผู้อื่น
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    รายละเอียด

    1 ป้องกันอาการไหล่ติดด้วยไม้พลองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ค่าวิทยากรชั่วโมงละ 500บ.x5 ชม.  = 2,500บ บาท ค่าอาหารกล่อง 60บ.x 1 มื้อ x 30 คน = 1,800 บาท ค่าอาหารว่าง 25 บ.x 2 มื้อ x 30คน  = 1,500 บาท ค่าเอกสารคู่มือ 50 บ.x30 คน = 1,500 บาท
    ค่าวัสดุอุปกรณ์(ไม้พลอง ) 40 บาท  x 30 คน = 1,200 บาท รวม  8,500 บาท

    งบประมาณ 8,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลควนโดน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 8,500.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการปวดไหล่และไหล่ติด 2.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองเพื่อลดอาการปวดและป้องกันอาการไหล่ติดได้ 3.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังสามารถนำความรู้และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายด้วยไม้พลองแก่ผู้อื่นได้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ รหัส กปท. L5284

อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ รหัส กปท. L5284

อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 8,500.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................