2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) หรือโรควิถีชีวิต ที่เป็นปัญหาสำคัญทาง สาธารณสุขของประเทศ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง เป็นภัยเงียบที่ส่งผลต่อสุขภาพทำให้ เกิดการเจ็บป่วย ความพิการ การสูญเสียสุขภาวะ คุณภาพชีวิต และตายก่อนวัยอันควรจำนวนมาก เป็นภาระการดูแล รักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายทั้งของ ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ กลุ่มโรคนี้มีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงร่วมหนึ่งปัจจัยหรือมากกว่า องค์การอนามัยโรคได้ให้ความสำคัญในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งมี ปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรมร่วมที่สำคัญ 4 ปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ 1) การบริโภค ยาสูบ 2) การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3) การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 4) การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ และปัจจัยด้านสรีรวิทยา 4 ปัจจัย ได้แก่ 1) ภาวะไขมันในเลือดสูง 2) ภาวะความดันโลหิตสูง 3) ระดับน้ำตาลในเลือดสูง 4) ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน นอกจากนี้ความเครียดเรื้อรังเป็นปัจจัยเสี่ยง สำคัญอีกหนึ่งปัจจัย องค์การอนามัยโลกทำนายว่าในปี พ.ศ. 2574 ประชากรโลกจะเสียชีวิต จากโรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจจำนวน 23 ล้านคน และในปี 2560 ข้อมูลจาก Health Data Center (HDC) พบว่าประเทศไทยมีจำนวนผู้ป่วย ที่เข้ามารับบริการในสถานบริการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุขด้วย โรคเบาหวาน 2,653,679 คน โรคความดันโลหิตสูง 5,581,116 คน โรคหัวใจ “ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง”อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ปี2555-2559 (รวมกรุงเทพมหานคร) ที่มา:กองยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.สถิติการสาธารณสุข พ.ศ.2559.นนทบุรี โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด 188,604 คนและโรคหลอดเลือดสมอง 220,272 คน จำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 69,054;129,801;22,728และ33,354คน ตามลำดับ และพบจากรายงานของกองยุทธศาสตร์และแผนงานกระทรวงสาธารณสุข พบว่าแนวโน้มของผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2555-2559 ในส่วนเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลควนโดน ก็ยังพบว่ามีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่อยู่แต่มีแนวโน้มที่ลดลงเล็กน้อย จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ต.ควนสตอ อ.ควนโดน จ.สตูลปีงบประมาณ 2566 ขึ้น
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/10/2022
กำหนดเสร็จ 30/09/2023
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง/เบาหวานรายใหม่ลดลง