กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก

สำนักเลขากองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก

สำนักเลขากองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก

ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลช้างให้ตก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของ ประเทศไทยในการส่งเสริมมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม
โดยมีองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเป็นกลกลสำคัญในการบริหรจัดกรระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กรและภาคเครือข่าย ในพื้นที่เข้ามาคันหาปัญหาและความต้องการ
ของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้าน สุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิต
ใน ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องอันได้แก่คณะกรรมการบริหารระบบ หลักประกันสุขภาพในพื้นที่ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานกองทุน
หลักประกันสุขภาพ อบต.ช้างให้ตก จึงได้จัดทำ โครงการบริหารจักการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลช้างให้ตก ประจำปี งบประมาณ 2566 ขึ้น
เพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานของคณะกรรมการกองทุนแบบบูรณาการ และมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วน ให้เข้าใจในทบบาทหน้าที่ของตนเอง ซึ่งจะต้องบริหารจัดการกองทุนฯ ให้บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ซึ่งเป็นการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้หาประสบการณ์จากองทุนตันแบบที่ประสบความสำเร็จการดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในความรับผิดชอบสามารถข้าถึงบริการ
สาธารณสุขทั้งที่บ้านในชุมชนหรือหน่วยบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของการ บริหารจัดการกองทุนตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการ สร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ 2.เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ 3.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

1.มีจำนวนคณะกรรมการบริหารกองทุนฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ 2.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารกองทุนโดยใช้หลักเกณฑ์ต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ3.มีจำนวนคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการครบตามประกาศ(คน) 4.กองทุนสุขภาพตำบลสามารพบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 17

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 14/12/2022

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก ครั้งที่ 1/2566

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก ครั้งที่ 1/2566
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนการเงินหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก ประจำปีงบประมาณ 2566 (ค่าตอบแทนคณะกรรมการฯ คนๆละ 200 บาท )

ระยะเวลาดำเนินงาน
14 ธันวาคม 2565 ถึง 14 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตกจำนวน 17 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 3,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ทำให้สามารถพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานของกองทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานกองทุนอย่างมี
ประสิทธิภาพ 2.ทำให้สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การดำเนินงานและทิศทางของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ใกล้เคียงมากยิ่งขึ้น


>