กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียนบ้านดุซงยอ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ

โรงเรียนบ้านดุซงยอ

นายมูฮำมัดตัรมีซัมอาบูเบอร์091-712-1015
นางโซเฟียเย็ง เบอร์062-214-4025
นางสาวแอเสาะ ปูตา
นายอับดุลอาซิด มามะ
นางนิมารีย๊ะ โว๊ะ

โรงเรียนบ้านดุซงยอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

1. หลักการและเหตุผล
ปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาส าคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคล ครอบครัว
ชุมชน และประเทศชาติดังนั้น การส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านสุขภาพ จึงเป็นเรื่องส าคัญหากได้
ปลูกฝังและเสริมสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้จะท าให้ประชาชนมีส่วนร่วมในก ารสร้างเสริมสุขภาพ
ตลอดจนแนวทางการควบคุมและป้องกันโรคที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อภาวะสุขภาพของประชาชน โดย
ชุมชนมีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรมควบคุมโรคด้วย ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจึง
จ าเป็นต้องเตรียมความพร้อมให้กับเด็กและผู้สูงอายุให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแล
สุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้สามารถช่วยเหลือตัวเอง และสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้เป็น
ปกติสุข
ในการด าเนินการเพื่อจัดท าโครงการของโรงเรียนบ้านดุซงยอ ในครั้งนี้ โรงเรียนได้ด าเนินการ
ตามกรอบและแนวทางของ สสส. เพื่อการพัฒนางานเชิงระบบและการพัฒนางานเชิงประเด็นในการ
สุขภาวะ 5 ด้านดังกล่าว โดยได้ด าเนินการประเมินสภาพการณ์จริงทั้ง 5 ด้าน และน าผลการประเมิน
มาพูดคุยระดมความคิดในระหว่างภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ จากผลการประเมินพบว่าในแต่ละ
ด้านมีผลการประเมินในภาพรวม 3.72 แยกเป็นแต่ละด้านได้ดังนี้ ด้านที่ 1 ผู้เรียนเป็นสุข 3.88 ด้านที่
2 โรงเรียนเป็นสุข 2.79 ด้านที่ 3 สภาพแวดล้อมเป็นสุข 3.16 ด้านที่ 4 ครอบครัวเป็นสุข 3.98 และ
ด้านที่ 5 ชุมชนเป็นสุข 3.91 จากผลการประเมินดังกล่าวนี้พบว่าโรงเรียนบ้านดุซงยอ จึงได้จัดท า
ระบบบริหารจัดการที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้เรียนทั้ง 5 องค์ประกอบ โดยได้น าผลการ
ประเมินมาพิจารณาร่วมกันในเวทีระดมความคิดในพื้นที่ ซึ่งได้ด าเนินการโดยกระบวนการมีส่วนร่วม
ของทุกภาคส่วน คือ ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรชุมชน ผลของการ
พูดคุยแลกเปลี่ยนกันสรุปได้ คือการดูแลเฝ้าระวัง การป้องกันรักษาสุขภาพเป็นสิ่งที่ส าคัญเป็นอย่าง
มาก โรงเรียนต้องร่วมกับเครือข่าย และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ด าเนินการจัดการด้านสุขภาวะโดยมุ่งเน้น
ข้อมูลจากการประเมินทั้ง 5 ด้านมาเป็นเป้าหมายหลัก เพื่อพัฒนาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน
ดังนั้นโรงเรียนบ้านปงสนุก จึงมีแนวคิดร่วมกันที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนบ้านดุซงยอ มีการ
บริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนครบ 5 องค์ประกอบของโรงเรียนสุขภาวะ และ
ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมที่ลดพฤติกรรมเสี่ยง และเพิ่มพฤติกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
นักเรียนโรงเรียนบ้านดุซงยอ ที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและชุมชนและมีการพัฒนาสุขภาวะในโรงเรียนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนบ้านดุซงยอมีสุขภาพช่องปากและฟันที่ปลอดภัยจากโรคฟันพุ 2. เพื่อส่งเสริมใหันักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลรักษาฟันและสุขภาพในช่องปาก 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีทักษะในการเฝ้าระวังสุขภาพปลอดภัยจากโรค 4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง 5.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์ 6.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีภาวะทุพโภชนาการตามเกณฑ์

ผลผลิต (Output) ร้อยละ 90 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้าน ดุซงยอดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน บรรลุตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 90
ผลลัพธ์ (Outcome) ร้อยละ 100 นักเรียนระดับชั้นอนุบาล-ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100

1.00 15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 340
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/12/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 หนูน้อยฟันสวย

ชื่อกิจกรรม
หนูน้อยฟันสวย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่1 หนูน้อยฟันสวย ส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการป้องกันโรคและภัยอัตรายใกล้ตัวต่างๆในโรงเรียน 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนเด็ก 340 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 8,500 บาท 2. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็น 1,800 บาท 3. ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท มีรายการดังนี้ - กระดาษปกทำเกียตรบัตร - กระดาษA4 - ปากกาเคมี2โหล
- กระดาษการ์ดหอม
- สีเมจิก - กาวลาเทคTOA
4. ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.5*2 เมตรๆ ละ 350 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 1,050 บาท

กิจกรรมที่2 กิจกรรมแก้ปัญหานักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนการต่ำกว่าเกณฑ์ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนเด็ก 31 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 775 บาท ระยะเวลา 9 เดือน เป็นเงิน 6,975 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนชั้นอนุบาล – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านดุซงยอ จำนวน469คน เข้าร่วมกิจกรรมตามขอบข่าย สามารถปฏิบัติกิจกรรม เกิดทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามแผนงาน ร้อยละ 90 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนบ้านดุซงยอ ดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 90
ผลลัพธ์ (Outcome) ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21325.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,325.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียน ครู บุคลากรมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพ การป้องกัน การหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ และอนามัยส่วนบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ
2. นักเรียนนำความรู้ทักษะไปใช้ดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้อย่างเป็นสุข
3. นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัติงานเฝ้าระวังสุขภาพได้ตามที่กำหนด


>