กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก

กลุ่มจิตอาสารักษ์มะรือโบตก
กลุ่มคน (ระบุ ๕ คน)
1.นายมูฮำมัดสุกรี มูฮามา
2.นายมาหะมะฮาลีมี หะยีดือราแม
3.นายอับดุลลาห์ หะมุ
4.นายมูหมัดซอบือรี ดือเร๊ะ
5.นายมะลีสัน วาแต

เทศบาลตำบลมะรือโบตก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ

 

70.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ

70.00 25.00
2 เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับวิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำจมน้ำในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องและทันต่อสถานการณ์

 

20.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2023

กำหนดเสร็จ 01/03/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมบรรยายความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมบรรยายความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนวิทยากรการบรรยาย จำนวน ๓ ชั่วโมง ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๖๕ คน คนๆละ ๗๐ บาท จำนวน ๑ มื้อ เป็นเงิน๔,๕๕๐บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ระหว่างการอบรม จำนวน ๖๕ คนๆละ ๒๕ บาท จำนวน ๒ มื้อ เป็นเงิน ๓,๒๕๐บาท
  • ป้ายไวนิลขนาด ๒.๔x๑.๒ เมตร จำนวน ๑ ผืน๗๕๐บาท -ค่าจ้างเหมายานพาหนะรับส่งผู้เข้าอบรม ไป-กลับ จำนวน ๕ คน ๒,๕๐๐ บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
8 พฤษภาคม 2566 ถึง 1 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12850.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสอนทักษะในการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสอนทักษะในการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าตอบแทนวิทยากรฝึกภาคปฏิบัติ จำนวน ๓ ชั่วโมง ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท จำนวน ๕ คนรวมเป็นเงิน ๙,๐๐๐บาท -ค่าเช่าสระน้ำและอุปกรณ์ สำหรับการจัดฝึกอบรม จำนวน ๑ วันๆละ ๖,๔๔๐เป็นเงิน๖,๔๔๐บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
8 พฤษภาคม 2566 ถึง 1 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15440.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ -การช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ (CPR)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ -การช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ (CPR)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 พฤษภาคม 2566 ถึง 1 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,290.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- เด็กนักเรียน มีความรู้การช่วยเหลือตนเองและผู้ประสบภัยทางน้ำในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องและทันต่อสถานการณ์เพิ่มขึ้น
- เด็กนักเรียนมีทักษะในการเอาชีวิตรอดจากการตกน้ำหรือจมน้ำได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
- เด็กนักเรียนในพื้นที่จะได้มีความเข้มแข็งและมีทักษะมีความรู้ความชำนาณในการจัดการภัยพิบัติทางน้ำจะส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน


>