กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันโรคไม่ติดต่อ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่

รพ.สต.บ้านท่าเชียด

นางสุชาดาโสดแก้ว
น.ส.จันทะนาขวัญเดือน
น.ส.วลัยลักษณ์ปิ่นมี
น.ส.จริยาเหล็มรุย
น.ส.อารีย์ทองคำ

รพ.สต.บ้านท่าเชียด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง

 

60.00

จากการตรวจกลุ่มเสี่ยงประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าเชียดส่วนหนึ่งยังมีพฤติกรรม สุขภาพที่ไม่เหมาะสม มีภาวะน้ำหนักเกิน หรือโรคอ้วน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่และเป็นโรคที่รักษาไม่หายแต่สามารถป้องกันได้ ด้วย การเรียนรู้เรื่องโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ 2ส 2. เพื่อลดการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง (Pre DM & Pre HT) 3. เพื่อให้หน่วยงานมีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (อปท./อสม./ประชาชนทั่วไป )

1.ผู้มีภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนได้รับการคัดกรอง 2.ผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงในชุมชนที่ได้จากการคัดกรองได้รับการนัดหมายเพื่อตรวจซ้ำหรือได้รับการส่งต่อเพื่อ รับการรักษาต่อเนื่อง 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ 2ส 4.ผู้มีภาวะเสี่ยงมีความตระหนักในความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ตลอดจนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันโรคไม่ติดต่อ

ชื่อกิจกรรม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันโรคไม่ติดต่อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.สำรวจข้อมูลประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต.บ้านท่าเชียด ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางที่ประชุมในหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ 3.จัดอบรมให้ความรู้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมให้บริการตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงและตรวจเบาหวานโดยการเจาะเลือด พร้อมแปรผลการตรวจเลือด 4.ดำเนินการตามระบบส่งต่อเพื่อยืนยันผลการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรับการรักษาในกรณีที่พบผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 5.ลงทะเบียนผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะความดันโลหิตสูง/น้ำตาลในเลือดสูงเกินเกณฑ์ปกติ 6.ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม เสี่ยงต่อการเกิดโรค 7.ประชุมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง ให้สามารถจัดการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องป้องกัน
8. คัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (อสม./ ประชาชนทั่วไป )
9. จัดกิจกรรม 3อ 2 ส ในสถานบริการ
10.เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อสรุปและประเมินผลโครงการ

งบประมาณ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่ จำนวน20,400 บาท รายละเอียดดังนี้

  1. ค่าอาหารกลางวันในโครงการฯ จำนวน 120 คน X 70 X 1 มื้อ เป็นเงิน 8,400 บาท
  2. ค่าอาหารว่างในโครงการฯ จำนวน 120 คน X 25 X 2 มื้อเป็นเงิน 6,000 บาท
  3. ค่าวิทยากร จำนวน 10 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
    รวมเป็นเงิน 20,400 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้นสองหมื่นสี่ร้อยบาทถ้วน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้มีภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนได้รับการคัดกรอง 2.ผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงในชุมชนที่ได้จากการคัดกรองได้รับการนัดหมายเพื่อตรวจซ้ำหรือได้รับการส่งต่อเพื่อ    รับการรักษาต่อเนื่อง 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ 2ส 4.ผู้มีภาวะเสี่ยงมีความตระหนักในความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ตลอดจนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง    และมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้มีภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนได้รับการคัดกรอง
2.ผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงในชุมชนที่ได้จากการคัดกรองได้รับการนัดหมายเพื่อตรวจซ้ำหรือได้รับการส่งต่อเพื่อ
รับการรักษาต่อเนื่อง
3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมด้วยหลัก 3อ 2ส
4.ผู้มีภาวะเสี่ยงมีความตระหนักในความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ตลอดจนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง
และมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง


>