กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการผู้สูงอายุ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
กลุ่มคน
1. นายทวีปจิรรัตนโสภา
2. นายสามารถทับทวี
3. นางชุลีศรีพระจันทร์
4. นายวิชัยเพิ่มหรรษา
5. นางพิมพรรณเต็งมีศรี
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยกําลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสําคัญซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ประชากรโลกคือการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นผลมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางการแพทย์และการวางแผนครอบครัวที่ผ่านมา ทำให้อัตราการเกิดและอัตราการตายของประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง ประชากรที่อยู่ในวัยสูงอายุจึงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานมีแนวโน้มที่ลดลง ทำให้อายุเฉลี่ยของประชากรไทยนั้นสูงขึ้น อย่างไรก็ตามการก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์มากขึ้นเรื่อยๆ นั้น ไม่ได้หมายความว่าผู้สูงอายุในประเทศไทยจะมีสุขภาพหรือมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเสมอไป เพราะพบว่าปัญหาภาวะทุพพลภาพและภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุก็เพิ่มมากขึ้นเช่นเดียวกัน
คุณภาพชีวิต ซึ่งหมายถึงการมีสุขภาพอนามัยที่ดี ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ (สุนทรียะแห่งชีวิต) นั้นเป็นเป้าหมายหลักของมนุษย์ในทุกๆ ช่วงวัย โดยแต่ละช่วงชีวิตนั้นก็มีความต้องการ และวิธีการส่งเสริมที่แตกต่างกันออกไป ผู้สูงอายุก็เช่นกัน มีการแบ่งมิติของความสุขในผู้สูงอายุออกเป็น 5 มิติ ได้แก่ สุขสบาย ซึ่งเน้นเรื่องสุขภาพร่างกาย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ สุขสนุก เป็นความสามารถของผู้สูงอายุในการเลือกวิถีชีวิตที่รื่นรมย์ด้วยการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิดอารมณ์เป็นสุข จิตใจสดชื่นแจ่มใส สุขสง่า เน้นความเข้าใจในความเป็นไปในชีวิต ความมีคุณค่าในตนเอง มีมุมมองและความรู้สึกต่อตนเองและผู้อื่นอย่างเห็นอกเห็นใจ ไม่ซึมเศร้า ไม่ท้อแท้ สุขสว่าง เป็นความสามารถด้านความจำ ความเข้าใจความคิดแบบนามธรรม การสื่อสาร การใช้เหตุผล และการวางแผนแก้ไขปัญหา สุขสงบ เป็นการรับรู้เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และสามารถจัดการกับภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งความสามารถในการควบคุมความต้องการจากแรงกระตุ้นได้อย่างเหมาะสม สามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขกับตัวเองได้
สถานการณ์ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง ข้อมูล ณ วันที่ 16 กันยายน 2565 พบว่า ผู้สูงอายุในพื้นที่ มีคุณภาพชีวิตและภาวะสุขภาพที่แตกต่างกันในแต่ละคน มีทั้งผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน และติดสังคม จากการสำรวจพบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตงรวมทั้งสิ้นประมาณ 4,100 คน ซึ่งถือเป็นจำนวนที่ค่อนข้างมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนในพื้นที่ต้องร่วมมือร่วมใจ ผสานทุนทางสังคม มีนโยบายและกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้ครอบคลุมมากที่สุด มีกิจกรรมทางสังคมที่หลากหลาย เพียงพอ เหมาะสมกับความสนใจและวัฒนธรรม เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เลือกตามความสะดวกและความสนใจของตนเอง โครงการผู้สูงอายุ “สุขกาย สบายใจ” นั้น เป็นหนึ่งในโครงการเพื่อผู้สูงอายุที่จัดเป็นประจำมาอย่างต่อเนื่องในเขตเทศบาลเมืองเบตง จากการดำเนินกิจกรรมในปีที่ผ่านมาพบว่าผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม จากเดิมที่เคยเป็นผู้สูงอายุติดบ้านหรือไม่เคยออกมาสู่สังคม สามารถออกมาทำกิจกรรมนอกบ้านได้มากขึ้น ลดการเกิดภาวะพึ่งพิง กระตือรือร้น มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ยิ้มแย้มแจ่มใส สุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ช่วยชะลอความเสื่อมในการทำหน้าที่ของร่างกาย ออกมาเป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมมากขึ้น ซึ่งจะทำให้มีสุขภาวะที่ดีอยู่เสมอ โครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” จึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้งทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์และจิตใจ ตามแนวทางความสุข 5 มิติ ซึ่งเน้นความเข้าใจธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของความสูงวัย การดูแลสุขภาพ การมีกิจกรรมง่ายๆ ในชีวิตประจำวันที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีวิถีชีวิตที่สุขกาย สบายใจ เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุในเทศบาลเมืองเบตง ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีความสุข มีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะผู้สูงอายุนั้นเต็มไปด้วยความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในชีวิต ควรค่าแก่การเคารพยกย่อง เป็นแหล่งของภูมิปัญญาอันทรงคุณค่า เป็นร่มโพธิ์ ร่มไทรของลูกหลาน และเป็นพลังเบื้องหลังที่สำคัญของสังคม

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ประเมินสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลเมือง เบตงที่เข้าร่วมโครงการ“รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”ดีเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตนตามหลักการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตงที่เข้าร่วมโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” มีแผนการดูแลสุขภาพของตนเอง เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 14 มกราคม 2566 ถึง 19 สิงหาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

1. อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา (ศาลาประชาคม) 2. กิจกรรมนอกสถานที่ในเขตเทศบาลเมืองเบตง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 0.00 บาท

หมายเหตุ : 1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1.1 ขั้นวางแผน 1. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง 2. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ 3. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” 4. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง 5. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย 1.2 ขั้นดำเนินการ 1. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน) 1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ 1. ประเมินผลดำเนินการ 2. สรุปผลดำเนินการ 3. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 0.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................