กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหญิงตั้งครรภ์บือมังมีคุณภาพสู่ชีวีที่ดีของเด็กแรกเกิด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบือมัง

องค์การบริหารส่วนตำบลบือมัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด

 

5.00
2 2.เด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2500 กรัม ร้อยละ 8.33

 

5.00
3 3.ภาวะคลอดก่อนกำหนดมีแนวโน้มมากขึ้น

 

2.00

จากข้อมูลHDCของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ปี 2565 ผลงานแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบือมังที่ยังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขดังนี้
1.เด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 8.33 (เกณฑ์ ต้องไม่เกินร้อยละ 7)
2.ภาวะซีดใหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 20 (เกณฑ์ ต้องไม่เกินร้อยละ 10 )
ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์มีผลทำให้เด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม เมื่อเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิดไม่สมบูรณ์แข็งแรง พัฒนาการต่ำกว่าเกณฑ์

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ุ/หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และปฏิบัติตัวได้ถูกต้องส่งผลให้เกิดการฝากท้องคุณภาพ คลอดปลอดภัย และเด็กสมบูรณ์แข็งแรง

1.หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 2.หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 80

5.00 80.00
2 2 เพื่อให้เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก2500 กรัม น้อยกว่า ร้อยละ7

เด็กแรกเกิดน้ำหนัก น้อยกว่า 2500 กรัม ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ1

5.00 7.33

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 82
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2023

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ประชุมคณะทำงานเพื่อการวางแผน

ชื่อกิจกรรม
1.ประชุมคณะทำงานเพื่อการวางแผน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ประชุมคณะทำงานเพื่อการวางแผนจำนวน 12 คน -ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท* 12คน เป็นเงิน 720 บาท-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม30บาท2มื้อ12คนเป็นเงิน 720บาท รวมเป็นเงิน1,440 บ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะทำงาน 12 คนประชุมเพื่อวางแผนการทำงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1440.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนนำสู่การปฏิบัติ

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนนำสู่การปฏิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนนำสู่การปฏิบัติ หญิงตั้งครรภ์ตำบลบือมัง 82 คน หญิงวัยเจริญพันธ์ุต.บือมัง จำนวน 50 คน -ค่าอาหารกลางวัน60 บาท132คน เป็นเงิน 7,920 บาท-อาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท2 มื้อ 132คนเป็นเงิน7,920บาท -ค่าวิทยากรและผู้ดำเนินรายการ 600 บาท6ชม.*2คน เป็นเงิน7,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

หญิงตั้งครรภ์ต.บือมัง และหญิงวัยเจริญพันธ์ุ ต.บือมัง จำนวน 132 คนเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนนำสู่การปฏิบัติ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23040.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,480.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ในปีงบประมาณ2566 -หญิงตั้งครรภ์ตำบลบือมังมาฝา่กท้องครั้งแรกอายุครรภ์่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80-หญิงตั้งครรภ์บือมังมาฝากท้องตามเกณฑ์ ร้อยละ 80-หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดน้อยลงกว่าเดิม ร้อบละ10-เด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500กรัมลดลงจากปีที่แล้ว ร้อยละ1 -ไม่เกิดภาวะการคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์


>