กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารและโภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา

โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์

โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การมีสุขภาพดี ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทยแต่ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของบุคคลตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม ซึ่งนับวันแนวโน้มของปัญหาเหล่านี้ย่อมมีความรุนแรงขึ้น ดังนั้นเพื่อให้ผู้เรียนได้มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ซึ่งเป็นการวางรากฐานด้านสุขภาพให้เข้มแข็งด้วยการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพตั้งแต่แรกเริ่ม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเผชิญกับปัญหาและสภาวการณ์ที่คุกคามต่อสุขภาพได้
โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์ จึงได้พัฒนาผู้เรียนให้มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้นเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง และเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของบุคคลในครอบครัว รวมทั้งการแสดงออกที่เหมาะสมของตนเพื่อหลีกเลี่ยงในสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อการมีสุขภาพที่ดีต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนการ

 

80.00
2 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า

 

80.00
3 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของนักเรียน

 

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ครูประจำชั้นดำเนินการประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียนในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือน(ไม่มีค่าใช้จ่าย)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอาหารเช้าเพื่อนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอาหารเช้าเพื่อนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดทำอาหารเช้าให้นักเรียนที่ภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 25 คน มื้อๆละ 10 บาท จำนวน 100 วัน  (พฤศจิกายน –มีนาคม 2566)   รวมเป็นเงิน  25,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประเมิน สรุปและรายงานผล

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประเมิน สรุปและรายงานผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันประเมินผลการดำเนินงาน
  • คณะทำงานสรุปและรายงานผลเสนอต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเทพา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการลดลงเนื่องจากได้รับประทานอาหารและได้ดื่มนมทุกวัน
2.นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงมีนิสัยรักความสะอาดทานอาหารที่มีประโยชน์


>