กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

"โครงการคัดกรองไว ห่างไกลโรค"

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน

กลุ่งหรือองค์กรประชาชนตั้งแต่ 5 คน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชาชนที่ต้องได้รับการแก้ไข นอกจากโรคติดต่อแล้วกลุ่มโรคเรื้อรังที่ไม่
ติดต่อได้แกโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงโรคหัวใจขาดเลือดโรคเส้นเลือดในสมองและโรคมะเร็งเป็นสาเหตุสำคัญของ
การเสียชีวิตและความพิการทำให้คุณภาพชีวิตของประซาชนลดลงและสูญเสียงบประมาณในการรักษาเป็นจำนวนมาก
ในแต่ละปีการคันหาและตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชนมีเป้าหมายที่สำคัญคือสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนลด
ปัญหาคำใช้จ่ายในระยะยาวอำนวยความสะดวกอย่างทั่วถึงรวดเร็วอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านจึงมีบทบาท
สำคัญในกระบวนการส่งเสริมสุขภาพโดยเน้นกิจกรรมในส่วนการบริการเชิงรุกรวมถึงการเฝ้าระวังโรคในชุมชนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ ๕ บ้านคลองทรายเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ "คัดกรองไว ห่างไกลโรค" เพื่อที่จะอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนข้าถึงการคัดกรองลูกได้ดเร็วทั่วถึงรวมถึงการส่งต่อดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและ โรคเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ ๑๐๐ ได้รับแจ้งผลการตรวจ คำแนะนำ และส่งต่อ ผู้ป่วยกรณีพบความผิดปกติ

0.00
2 ๒.เพื่อส่งเสริมบทบาท อสม. ปฏิบัติงานเชิงรุกในการส่งเสริม สุขภาพของประชาชน

อาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้านและแกนนำ หมู่ที่๕ บ้านครองทราย ร่วมดำเนินกิจกรรม ร้อยละ ๑๐๐

0.00
3 ๓.เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน

 

0.00
4 ๔.เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนเข้าถึงการคัดกรองโรคได้ อย่างรวดเร็วและทั่วถึง

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 "โครงการคัดกรองไว ห่างไกลโรค"

ชื่อกิจกรรม
"โครงการคัดกรองไว ห่างไกลโรค"
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.รวบรวมข้อมูลเป้าหมายและกิจกรรมเขียนโครงการเสนอ ๒.ประชุม อสม. และแกนนำ วางแผนการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ๓. อบรมให้ความรู้การใช้อุปกรณ์และการแปลผลการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ๔. จัดกิจกรรมติตตามภาวะสุขภาพของประชาชน ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์สำหรับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงเบาหวาน อสม. และแกนนำลงพื้นที่เข้าถึงครัวเรือนกลุ่มติดเตียงติดบ้านผู้สูงอายุ ๕. สรุปผลการดินเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16110.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,110.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.ประชาชนในพื้นที่มีความสะดวกในการเข้ารับการตรวจคัดกรองโรค
. ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงได้รับรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองในเบื้องต้น
๓. สามารถส่งต่อคนที่มีสภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษาได้รวดเร็ว
๔. ประชาชนมีสุขภาพที่ดี
๕. อสม. มีความพร้อมในการปฏิบัติงานเชิงรุกในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของประชาซน


>