กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา รหัส กปท. L3005

อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.4.0)
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านตำบลลางา
กลุ่มคน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลลางา จำนวน50คน
3.
หลักการและเหตุผล

การดำเนินงานด้านสาธารณสุข แบ่งรูปแบบการดำเนินงานออกเป็น 4 ด้านคือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งการดำเนินงานให้ครอบคลุม 4 ด้านนั้น สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงได้ แต่การที่จะครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน นั้น สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงได้ แต่การที่จะทำให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน นั้นเป็นเรื่องยากเพราะปัจจุบันบริบทของการเกิดโรคได้เปลี่ยนแปลกไปกล่าวคือ ในอดีตการสาธารณสุขของไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าในปัจจุบันประชาชนมักเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากปฏิกิริยาของเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อไวรัสที่มากระทำ ต่อร่างกาย เช่น ไข้หวัด อุจจาระร่วง แต่ปัจจุบันเมื่อการสาธารณสุขเจริญก้าวหน้าขึ้น รวมทั้งวิถีที่เปลี่ยนไปฌรคที่เกิดขึ้นกับประชาชน จึงกลายเป็นโรคที่เกิดจากการไม่ดูแลพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง เช่นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และที่สำคัญอีก เช่น วัณโรค เป็นต้นการจะแก้ไขปัญหา่ดังกล่าวทุกฝ่ายต้องผนึกกำลังสร้างค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้อง และสอดคล้อง กับวิถีชีวิตของประชาชนเน้นการสร้างสุขภาพและการป้องกันมากกว่าการซ่อมสุขภาพโดยส่งเสริม และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เข้ามามีบทบาทในการดูแล และส่งเสริมสุขภาพของชุมชนได้เองเสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพเครื่อข่ายสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชนให้เข้มแข็ง การจัดกิจกรรมที่สามารถพัฒนาและปฏิบัติการโดยเชิงรุก พัฒนารูปแบบที่เป็นวัตกรรม ที่ใช่ความรูเนำมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฟติกรรม ค่านิยมของประชาชน เกิดการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ทำให้ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้สนหน้าอย่างยั่งยืนชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา (สังกัดองค์การบริการส่วนจังหวัดปัตตานี)และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริการส่วนตำบลลางา ซึ่งมีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม)ให้สามารถดูแลและมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชน ในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆในชุมชน เพื่่อให้เกิดการแก้ไข้ปัญหาด้านสุขภาพในชุมชนจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาความรู้ และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานของ อสม.ตลอดจนพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง และดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป้นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชน โดยมีเป้าหมายที่จะดำเนินการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ อสม.ในทุกหมู้บ้านให้เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ในเรื่องที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อนำไปถ่ายทอดความรู้ ใหบริการและประสานงาน กับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธาณสุข ประจำหมู่บ้าน(อสม 4.0)ปีงบประมาณ2566 นี้ขึ้นเพื่อพัฒนาความรู้ด้านสุขภาพ ทั้งด้านการป้องกันโรคติดต่อในชุมชน การส่งเสริมสุขภาพประชาชน ทั้ง 5กลุ่มวัย การเป็นแบบอย่างที่ดี ต่อชุมชน นำไปสู่การจัดการสุขภาพครอบครัว ในชุมชน ต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
    ขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 1.00
  • 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีศักยภาพในการดำเนินงานส่งเสริมงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
    ขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 1.00
  • 3. เพื่อสร้างการบริการเชิงรุก ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้กลไกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : ร้รอยละ80
    ขนาดปัญหา 4.00 เป้าหมาย 1.00
  • 4. เพื่อพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ100
    ขนาดปัญหา 2.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้ พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยในหัวข้อความรู้ดังนี้ 1.1 ความรู้ด้านสุขภาพในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 1.2 ความรู้ด้านนักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย 1.3ความรู้ด้านการออกกำลังกาย 1.4 ความรู้ด้านการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน จำนวน3วัน
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน x 50 บาท x 3 วัน = 7,500บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 35บาท x 2มื้อ x 3วัน =10,500 บาท -ค่าวัสดุอบรม(ปากกา เอกสารประกอบ แฟ้ม) จำนวน 50คน x 200 บาท =10,000 บาท -ค่าวิทยากรในการจัดอบรม จำนวน 3คนๆละX3ชม.ๆละx600บาท จำนวน3วัน= 16,200 บาท

    งบประมาณ 44,200.00 บาท
  • 2. พัฒนาสมรรถนะอสม.ในการเป็นแกนนำด้านสุขภาพและมีศักยภาพในการเป็นนักจัดการสุขภาพครอบคลุม 5มิติในพื้นที่
    รายละเอียด

    -รุ่นที่1 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 21คน x 50บาท x 1มื้อ=1,050บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน21คน x 35บาท x 2มื้อ =1,470 บาท รวม 2,520บาท -รุ่นที่2 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 21คน x 50บาท x 1มื้อ=1,050บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน21คน x 35บาท x 2มื้อ =1,470 บาท รวม 2,520บาท -รุ่นที่3 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 21คน x 50บาท x 1มื้อ=1,050บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน21คน x 35บาท x 2มื้อ =1,470 บาท รวม 2,520บาท -รุ่นที่4 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 21คน x 50บาท x 1มื้อ=1,050บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน21คน x 35บาท x 2มื้อ =1,470 บาท รวม 2,520บาท -รุ่นที่5 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 21คน x 50บาท x 1มื้อ=1,050บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน21คน x 35บาท x 2มื้อ =1,470 บาท รวม 2,520บาท

    งบประมาณ 12,600.00 บาท
  • 3. เวทีนำเสนอผลลัพธ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกระบวนการดูแลประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีปัญหาเฉพาะด้าน เช่น ติดเตียง เปราะบาง ไร้คนดูแล
    รายละเอียด

    1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เยี่ยมบ้าน ถ่ายทอดความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ - ค่าพาหนะลงเยี่ยมบ้าน จำนวน50คนx50บาท =2,500บาท 2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้การบริการส่งเสริม คัดกรอง และดูแลสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ - ค่าอาหารอาหารกลางวัน จำนวน50คนx50บาท=2,500บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50คนx35บาทx2มื้อ=3,500บาท

    งบประมาณ 8,500.00 บาท
  • 4. ติดตาม/ประเมินผล และถอดบทเรียนการดำเนินงาน จำนวน2ครั้ง 1.เจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงติดตาม/ประเมินผล การฝึกปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หลังจากฝึกปฏิบัติงาน1เดือน 2.ถอดบทเรียนหลังการปฏิบัติงาน หลังจากกิจกรรมติดตาม/ประเมินผล3เดือน
    รายละเอียด

    1.เจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงติดตาม/ประเมินผล การฝึกปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หลังจากฝึกปฏิบัติงาน1เดือน -ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 3,000บาท 2.ถอดบทเรียนหลังการปฏิบัติงาน หลังจากกิจกรรมติดตาม/ประเมินผล3เดือน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน61คนx50บาท=3,050 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน61คนx35บาทx2มื้อ=4,250 บาท

    งบประมาณ 10,300.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี (ทั้ง7หมู่บ้าน)

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 75,600.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณสามารถถั่วเฉลี่ย

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ยกระดับอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน เป็นอสม.4.0 2.อาสาสมัครประจำหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษาะด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกัน ฟื้นฟู สุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทั้ง5กลุ่มวัย สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี พึ่งพาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา รหัส กปท. L3005

อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา รหัส กปท. L3005

อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 75,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................