กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต

นางปฐมาพร พิทักษ์
นางมณรธีร์ จิตจินดา
นางพัชรี เตี้ยนวล
นางสวโศรยา จันทร์เสียม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปํญหาสุขภาพที่สำคัญในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษ๖รก คืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเกญตรกรส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมี ที่ไม่ถุกต้อง ปลอดภัย ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป้นพิษและปริมาณที่ได้รับส่วนอาการเรื้อรังสารเคมี กำจัดศัตรูพืชจะสะสมในระบบต่างๆ ของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสทืบพันธุ์ และตาซึ่งขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภุมิคุ้มกันเป็นต้น ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมดซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ ทำนา ปลุกพืชผัก ผลกระทบจากการใช้สารเคมี ในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับค่อนข้างสูงอยู่จากข้อมูลดังกล่าว แสดงว่าเกษตรกร ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธี และขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรงและจาการรายงานอัตรป่วยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชของอำเภอระโนด ปี 2565 พบว่า ตำบลตะเครียะมีอัตรป่วยสูงที่สุด รองจากอำเภอระโนด คือ 278.12 ต่อแสนประชากร
* โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรและผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภค ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพือ่ดูว่ามีปริมารสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมตกค้างในเลือด
2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย
3..เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเลือด ระดับมีความเสี่ยง หรือไม่ปลอดภัยได้รับการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีและผู้บริโภค 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีและผู้บริโภค

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีและผู้บริโภค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 5 ป้าย * 250= 1250 บาท 2.ค่าวัสดุในการอบรม (แฟ้มเอกสาร สมุด ปากกา จำนวน 5050 = 2500 3.อาหารกลางวัน 1 มื้อ *50บาท50คน = 2500 4.อาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ 25บาท *50คน = 2500 5.ค่าวิทยากร600บาท *6 ชั่วโมง 3600 6.ค่าชุดทดสอบ 1500 บาท * 1กล่อง= 1500 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 13850 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13850.00

กิจกรรมที่ 2 ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด

ชื่อกิจกรรม
เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,850.00 บาท

หมายเหตุ :
13850

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เกษตรกรมีพฤติกรรมการป้งกันการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย
2.ชุมชนมีการลดใช้สารเคมีในการเพาะปลูก


>