กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการขลิบเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.ปากนํ้า
กลุ่มคน
1.นายรัฐการ ลัดเลีย

2.นายตรา เหมโคกน้อย

3.ปรีชา ปันดีกา

4.นายเอกนรินทร์ลัดเลีย

5.นายณรงค์ ปากบารา
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล การขลิบ(Circumcision)คือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นการผ่าตัดเล็กที่ทำกันบ่อยมาก จนเกือบถือว่าเป็นเรื่องปกติวิสัย ทั้งนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในบางกลุ่มชน เป็นสิ่งปกติวิสัย เช่น ชาวยิว ที่จะขลิบหนังหุ้มปลายตั้งแต่แรกคลอด และชาวมุสลิมที่ขลิบในวัยเด็ก แต่ในประชาชนทั่วไปมีความเชื่อกันว่าการขลิบหนังหุ้มปลายจะทำให้สามารถดูแลทำความ สะอาดได้ดีขึ้น ป้องกันการติดโรคบางชนิด และป้องกันมะเร็ง เป็นต้น ในบทความตามวิชาการแพทย์ที่ได้มีการศึกษาวิจัยในปัจจุบันที่ได้ศึกษาพัฒนาการของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหนังหุ้ม ปลายอวัยวะเพศชาย เป็นอวัยวะที่มีอยู่ตามปกติ ปกคลุมส่วนปลายของอวัยวะเพศอยู่ เชื่อกันว่าทำหน้าที่ในการปกป้องส่วนปลายของอวัยวะเพศ และมีหน้าที่ในการรับรู้ความรู้สึกโดยเฉพาะ เมื่อมีการกระตุ้นทางเพศ เพราะมีใยประสาทที่มีความไวเป็นจำนวนมากในบริเวณนี้ หลังคลอดหนังหุ้มปลายจะปิดปกคลุมปลายของอวัยวะเพศจนมิด และจะค่อย ๆ เผยออกจนสามารถมอง เห็นรูเปิดของท่อปัสสาวะได้ แต่อย่างไรก็ดีเด็กอายุ3 ปีจะมีอยู่ประมาณร้อยละ 10 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิด แต่ยังสามารถถ่ายปัสสาวะได้ เมื่อติดตามมาจนกระทั่งอายุ6 ปี จะมีประมาณร้อยละ 8 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิดและเหลือเพียงร้อยละ 1 ที่หนังหุ้มปลายไม่เปิดจนถึงอายุ16 ปี ถึงอย่างไรก็ดีเมื่อหนังหุ้มปลายเปิดใหม่ ๆ จะยังไม่สามารถเปิดได้หมดเพราะยังมีเยื่อบางๆติดยึดอยู่กับ ปลายอวัยวะเพศ การขลิบหนังหุ้มปลายองคชาติ หรือ Circumcision คือการตัดหนังบริเวณด้านหน้าขององคชาติออก จุดประสงค์คือเพื่อให้สามารถรูดออกทำความสะอาดบริเวณด้านในขององคชาติได้ ซึ่ง ผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่าขี้เปียก หรือ Smegmaมีลักษณะเป็นขุยขาวๆ คล้ายขี้ไคลขึ้นมาและการที่ไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ก่อให้เกิดกลิ่น การ ติดเชื้อเรื้อรัง รวมทั้งอาจก่อให้เกิดโรคร้ายอย่างมะเร็งที่องคชาติได้ และจากการเก็บข้อมูลพบว่าผู้ป่วยมะเร็งองคชาติเกือบทั้งหมด ไม่สามารถรูดหนังออกเพื่อทำความสะอาดได้ ผู้ชายที่เป็น มะเร็งที่องคชาติปัจจุบันพบได้บ้างแต่ไม่มากนัก ส่วนใหญ่อายุมากกว่า 60 ปี ดูแลสุขอนามัยไม่ค่อยดี และที่สำคัญมักจะหนังหุ้มปลายไม่เปิดดังนั้น ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดขลิบหนัง หุ้มปลายจึงมี ประโยชน์ต่อสุขอนามัยของผู้ชายโดยตรง ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัยเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชนทางองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอได้ ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นต่อการจัดการแก้ไขปัญหาสภาวะสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชนชายจึงได้จัดทำโครงการขลิบเพื่อสุขภาพปลอดภัยห่างไกลโรคประจำปี 2566 ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เด็กเยาวชนผู้ปกครองและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล สุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision)การป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
    ตัวชี้วัด : เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง และประชาชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแล สุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision) การป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมุสลิมได้ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Circumcision)ที่ถูกต้องตามหลักการแพทย
    ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนชายได้ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (Circumcision)ที่ถูกต้อง ตามหลักการแพทย์
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision)การป้อป้ งกันโรคและการเกิด โรคติดเชื้อ ให้แก่เด็กเยาวชน ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไป
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    • ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision)การป้องกันโรคและการเกิดโรคติดเชื้อ

    งบประมาณ

    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

    • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 180 คนๆละ 80 บาทเป็นเงิน 14,400บาท (เด็ก=80 คน , ผู้ปกครอง=80 คน , คณะทำงาน=20 คน )

    • อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 180 คนๆละ 35 บาท เป็นเงิน 6,300 บาท

    งบประมาณ 22,500.00 บาท

    งบประมาณ 22,500.00 บาท
  • 2. ทำ หัตถกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision)
    รายละเอียด

    -เด็กและเยาวชน ผู้เข้าร่วมโครงการเข้ารับการทำหัตถกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) งบประมาณ

    -ค่าตอบแทนบริการทางการแพทย์จำนวน 80 คนๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 96,000 บาท

    -ค่าผ้าเปลี่ยนสำหรับเปลี่ยนหลังขลิบอวัยวะเพศจำนวน80คนๆละ50บาท เป็นเงิน 4,000บาท

    -ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1×3 เมตร ๆละ 250 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 750 บาท

    งบประมาณ 100,750.00 บาท

    งบประมาณ 100,750.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 พ.ค. 2567 ถึง 2 พ.ค. 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

พื้นที่ ตำบลปากนํ้า อำเภอละงู จังหวัดสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 123,250.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็ก เยาวชน ผู้ปกครองและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision)
  2. เด็กและเยาวชนได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumcision) ถูกต้องตามหลักการแพทย
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 123,250.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................