กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการเครือข่าย อสม.ชุมชนกือลอ รวมใจตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาน 2566

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเครือข่าย อสม.ชุมชนกือลอ รวมใจตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาน 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางปู

1.นส.มาเรียมสนิ
2.นส.ฟาตีหม๊ะ หะยีเด็ง
3.นส.นิซารีฟ๊ะ หะยีสือแม
4.นส.รูฮานีอาแว
5.นส.ฮามีด๊ะ เจะเด็ง

ชุมชนกือลอ เทศบาลตำบลบางปู

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องจากความเจริญเติบโตทางสังคมเศรษฐกิจและเทคโนโลยีทำให้การดำเนินวิถีชีวิตในสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจากชุมชนชนบทเป็นชุมชนเมืองมีร้านค้าสะดวกซื้อเข้ามาในชุมชนประกอบกับภาวะเร่งรีบในดำเนินชีวิตนอกบ้านจึงต้องพึ่งพาอาหารนอกบ้าน อาหารสำเร็จรูป อาหารจานด่วน อาหารขยะที่ไม่มีประโยชน์ต่อสุขภาพซึ่งส่วนใหญ่มีสารปรุงแต่งอาหาร หวาน มัน เค็ม ซึ่งอาหารเหล่านั้นเป็นภัยเงียบที่สะสมเป็นปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรค และความเครียดกับการแข่งขันเพื่อความอยู่รอดจนส่งผลให้ไม่มีเวลาในการออกกำลังกาย ซึ่งเป็นปัจจัยเอื้อการเกิดโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไต อัมพฤต อัมพาตในอนาคต ถ้ายังไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติสุขภาพ และพบว่าประชาชนในหมู่บ้านมีแนวโน้มเสี่ยงเป็นโรคความโลหิตสูงและเบาหวานเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตตามมาอีกมากมายและทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเป็นจำนวนมาก
ดังนั้น เพื่อป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน เครือข่าย อสม.หมู่ที่ 3 ชุมชนกือลอ จึงเห็นความสำคัญของการทำงานเชิงรุกในการค้นหา ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานตลอดจนส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในการป้องกันและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง โดยมุ่งหวังให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน >ร้อยละ 95

ร้อยละ 95

0.00
2 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ร้อยละ 90

0.00
3 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ร้อยละ 50

0.00

1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 1๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน >ร้อยละ 95
2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน >ร้อยละ 90
3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ >ร้อยละ 50
4.เพื่อให้ อสม.มีความรู้เรื่องการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและการป้องกันโรคเรื้อรัง ร้อยละ 100

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 6.1 อบรมฟื้นฟูการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานฯ

ชื่อกิจกรรม
6.1 อบรมฟื้นฟูการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมฟื้นฟูการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานฯ (อบรมรวมกันทั้ง 8 ชุมชน)
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อสม. 11 คน X 25 บาท X 2 มื้อ=550 บาท - ค่าอาหารกลางวัน อสม. 11 คน X 40 บาท =550 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม.มีความรู้เรื่องการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและการป้องกันโรคเรื้อรัง ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1100.00

กิจกรรมที่ 2 6.2 ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 400 คน

ชื่อกิจกรรม
6.2 ตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 400 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรองและแผ่นพับป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 400 ชุดx2บาท = 800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรอง จำนวน 400 คน X 25 บาท X 1 มื้อ=10,000 บาท
  • ชุดวงล้อคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานจำนวน 1 อัน X 1,600 บาท = 1,600 บาท
  • เครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 1 เครื่อง X 2,500 บาท=2,500 บาท
  • เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 1 เครื่อง X 2500 บาท =2,500บาท
  • เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล จำนวน 1 เครื่อง x 1000 บาท = 1,000 บาท
  • เข็มเจาะปลายนิ้วตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 3 กล่อง X 750 บาท = 2,250 บาท
  • Strip ตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 กล่อง X 1,400 บาท=5,600 บาท
  • สำลีก้อน ขนาด 0.35 /450 กรัม จำนวน 1 ห่อ x 160 บาท = 160 บาท
  • แอลกอฮอล์ 70% ขนาด 450 มิลลิลิตร จำนวน 1 ขวด x 100 บาท = 100 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน >ร้อยละ 95 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน >ร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26510.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,610.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนอายุ 1๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
4. อสม.มีความรู้เรื่องการคัดกรองและการใช้เครื่องตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานและการป้องกันโรคเรื้อรัง


>