กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 บ้านควนยาหวา

1.นางอัคริมาบุญชู
2. นางอีฉะบิลาอาบู
3. นางฮับเสาะ อาดำ
4. นายอนนต์สกุลลา
5. นางฮอเดียะหมันเส็น

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
การฆ่าตัวตายเป็นปัญหาทางสังคมมากกว่าจะเป็นปัญหาทางการแพทย์แต่เพียงอย่างเดียว แม้ว่าการจัดบริการให้ความช่วยเหลือผู้อยู่ในภาวะวิกฤตของชีวิตและการให้การรักษาทางจิตเวชอย่างถูกต้องจะเป็นสิ่งสำคัญ แต่มาตรการการป้องกันการฆ่าตัวตายหลายประการ ต้องอาศัยความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ในสังคมเราอาจกำหนดมาตรการป้องกันการฆ่าตัวตาย ได้แก่ การจัดการศึกษา การควบคุมวิธีการที่ใช้ในการฆ่าตัวตาย จัดบริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต การวินิจฉัยและรักษาโรคทางจิตเวชอย่างถูกต้อง การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและสังคม การเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า ซึ่งภาวะซึมเศร้า เป็นโรคทางจิตเวชที่มีผู้เป็นจำนวนไม่น้อย แต่ยังมีผู้รู้จักโรคนี้ไม่มากนัก บางคนเป็นโดยที่ตัวเองไม่ทราบ คิดว่าเป็นเพราะตนเองคิดมากไปเองก็มี ทำให้ไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม และทันท่วงที เป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตาย สำหรับสาเหตุของภาวะซึมเศร้า มีความสัมพันธ์กับหลายปัจจัย ทั้งจากด้านกรรมพันธุ์ การพลัดพรากจากพ่อแม่ในวัยเด็ก พัฒนาการของจิตใจ รวมถึง การเปลี่ยนแปลงของระดับสารเคมีในสองบางตัว โดยมีความเครียดทางจิตสังคมเป็นตัวกระตุ้นให้เป็นโรคได้มากขึ้น เช่น การสูญเสียคนที่รัก การหย่าร้าง ความเครียดทางจิตสังคม การมีโรคทางกายที่เรื้อรังและการไปพึ่งพิงสารเสพติด โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่สามารถดูแลรักษาได้ ซึ่งโรคนี้เป็นการเจ็บป่วยอย่างหนึ่งของร่างกายเช่น เดียวกับการป่วยด้วยโรคอื่นๆ ซึ่งถ้าได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้อง
อาสามสมัครสาธารณสุขม 3 บ้านควนยาหวาให้เห็นความสำคัญในการป้องกันภาวะสุขภาพจิตซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะซึมเศร้าและเพิ่มขีดความสามารถให้ความรู้กระตุ้น ให้ประชาชนตระหนักความสำคัญของปัญหาและการมีส่วนร่วมตลอดจนการป้องกันกันและช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าแก่ประชาชนทั่วไปนอกจากนี้อาสาสมัครสาธารณสุข มีส่วนร่วมในการสำรวจคัดกรองผู้มีภาวะซึมเศร้า

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถคัดกรองประเมินประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง 2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องสุขภาพจิตในชุมชน 3เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนใช้ชีวิตชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบยอมรับซึ่งกันแลกัน
    1. ร้อยละ 90 ได้รับการประเมินภาวะด้านสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง 2  ร้อยละ 90 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น เรื่องสุขภาพจิต
  1. 3.  ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยจิตเวชรายใหม่ในชุมชน
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 28/10/2022

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน ปี ๒๕๖6

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตกลุ่มวัยทำงาน ปี ๒๕๖6
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมอบรมให้ความรู้  กลุ่มเป้าหมาย  80  คน        

                        <br />









  • ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม 80 คนๆ ละ 55 บาท เป็นเงิน       4,400   บาท

    • ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้ารับการอบรม 80 คน x 2 มื้อ x 25 บาท    เป็นเงิน  4,000   บาท
    • ค่าวิทยากรในการอบรมฯ 5 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท    เป็นเงิน     1,500  บาท
    • ค่าทำป้ายโครงการขนาด 1.00 x 3.00 เมตร    เป็นเงิน  300  บาท

    ค่าวัสดุโครงการ   1,000 บาท

    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,200  บาท (เงินหนึ่งหมื่นหนึ่งพันสองร้อยบาทถ้วน)





    หมายเหตุ  งบประมาณต่างๆสามารถถัวจ่ายกันได้ตามการจ่ายจริง กิจกรรม สถานที่และเวลาสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ***

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชุมอบรมให้ความรู้  กลุ่มเป้าหมาย  80  คน        

                        <br />









  • ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม 80 คนๆ ละ 55 บาท เป็นเงิน       4,400   บาท

    • ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้ารับการอบรม 80 คน x 2 มื้อ x 25 บาท    เป็นเงิน  4,000   บาท
    • ค่าวิทยากรในการอบรมฯ 5 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท    เป็นเงิน     1,500  บาท
    • ค่าทำป้ายโครงการขนาด 1.00 x 3.00 เมตร    เป็นเงิน  300  บาท

    ค่าวัสดุโครงการ   1,000 บาท

    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,200  บาท (เงินหนึ่งหมื่นหนึ่งพันสองร้อยบาทถ้วน)





    หมายเหตุ  งบประมาณต่างๆสามารถถัวจ่ายกันได้ตามการจ่ายจริง กิจกรรม สถานที่และเวลาสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ***

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1. ลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ส่งเสริมด้านสุขภาพจิตในชุมชน
2. กลุ่มเป้าหมายสามารถคัดกรองและติดตามผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนได้
3. กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ประสานต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้เพื่อระบบการส่งต่อ และการรักษาที่ถูกต้อง


>