กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

หนูน้อยฟันสวย ยิ้มใส

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู

โรงเรียนบ้านปะลุรู

นางธนิตา ถาวรกิจ
นาสาวยูลนะห์เจ๊ะโก๊ะ
นางรุสมีนาเปาะจิ
นางฮามีด๊ะยูโซ๊ะ
นางสาวนายะห์ แลแลวา

โรงเรียนบ้านปะลุรูม.3 ต.ปะลุรู อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัญหาสุขภาพฟันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของนักเรียนในระดับประถมศึกษาตลอดมา ทุกโรงเรียนมีปัญหาด้านสุขภาพฟัน ที่สำคัญคือ ฟันผุ มีหินปู มีปัญหาการแปรงฟันไม่ถูกวิธีรวมถึงการรับประทานอาหารที่ทำให้เกิดฟันผุอันส่งผลต่อสุขภาพกายด้วย ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพช่องปากและฟันของนักเรียน จึงควรให้จัดทำโครงการ ฟันสวย ยิ้มใสขึ้น เพื่อสงเสริมให้นักเรียนและครูมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟัน สามารถแปรงฟันได้สะอาดและถูกวิธีส่งผลให้มีสุขภาพในช่องปากและฟันที่ดีขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านปะลุรู ปลอดภัยจากโรคฟันผุ

เพิ่มความรู้และทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบและรู้จักการดูแลตัวเองมากขึ้น นักเรียนเข้าใจวิธีการดูแลรักษาฟันและสุขภาพในช่องปาก เพื่ออบรมเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และการแปรงฟันอย่างถูกวิธี เพื่อฝึกนักเรียนให้รักความสะอาดในชีวิตประจำวัน

50.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพในช่องฟันกับเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านปะลุรู

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพในช่องฟันกับเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านปะลุรู
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมให้ความรู้ เป้าหมาย 80 คน 1. ค่าไวนิล ขนาด 120*240 = 720 บาท 2. ค่าตอบแทนวิทยากร 5 ชม.ๆละ600 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท 3.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม มื้อละ 30 บาท จำนวน 2 มื้อจำนวน80คน เป็นเงิน 4,800 บาท 4.ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับนักเรียนในการสาธิตการแปรงฟันและปฎิบัติจริง ( แปรงสีฟัน 80 อัน ยาสีฟัน ขนาด 150 กรัม จำนวน 5 หลอด ) เป็นเงินบาท 5.ค่าแผ่นพับใบความรู้เพื่อแจกให้กับนักเรียนได้ศึกษาเพิ่มเติมหลังจากอบรม เป็นเงิน 360 บาท 6.โมเดลจำลองพร้อมแปรงฟัน จำนวน 1 ชุดๆละ 1,990 บาทเป็นเงินบาท 7.โปสเตอรวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี จำนวน 4 แผ่นๆละ 89 บาท เป็นเงิน 356 บาท 8.ผ้าขนหนูให้เด็กนักเรียน 80 คนๆละ 35 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมมีความรู้มากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15216.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสาธิตการแปรงฟัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมแปรงฟันถูกวิธีมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,216.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนโรงเรียนบ้านปะลุรูมีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดีปลอดภัยจากโรคฟันผุ
2.ครูและนักเรียนมีความรู้และทักษะในการดูแลรักษาฟันและสุขภาพในช่องปาก
3.นักเรียนโรงเรียนบ้านปะลุรูไม่มีโรคฟันผุเพิ่มขึ้น


>