กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน

ชมรมอาสาสมัครผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังตำบลโตนดด้วน

น.ส.วิมลวรรณ ชายเกตุ
นางอุบล มากชิต
นางยุพิน ชุมทอง
นาวปราณี ชูศรี
นางปิยะพร ชูทอง

ตำบลโตนดด้วน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

มีผู้ป่วยจิตเวชอยู่ในการดูแลในปี 2565 จำนวน 45 ราย อารการกำเริบและเข้ารับการรักษ่าเป็นผู้ป่วยจำนวน 2 ราย อาการกำเริมมาจากสาเหตุผู้ป่วยมารับการรักษาไม่ต่อเนื่องมีการกินยาไม่ถูกต้อง ไม่ยอมกินยาและญาติผู้ป่วยไม่มีความเข้าใจในการดูแลจากปัญหาดังกล่าว อาสาสมัครผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนตำบลโตนดด้วน จึงได้จัดทำโคงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนขึ้น เพื่อให้ ผู้ป่วยจิตเวชได้รัปบริการต่อเนื่องในชุมชน ลดอาการกำเริบหรือการกลับมาเป็นซ้ำ เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ตามปกติต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 จัดอบรมอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รับผิดชอบ

อาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง  และเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้รับการอบรม

80.00 100.00
2 ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่มีความเสี่ยงในการเกิดอาการกำเริบได้รับการดูแล จำนวน 10 คน

ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังไม่มีอาการกำเริบหรือกลับมาเป็นซ้ำ

80.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 10/02/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนและเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ที่รับผิดชอบ

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนและเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ที่รับผิดชอบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม และผู้ดำเนินการ 1 มื้อๆละ 60 บาทจำนวน 25 คน เป็นเงิน 1,500 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้ารับการอบรมและผู้ดำเนินการ 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 25 คน เป็นเงิน 1,250 บาท 3.ค่าสมนาคุณวิทยากร 1 คน จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 4.ค่าเอกสารความรู้การดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน จำนวน 25 เล่มๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มีนาคม 2566 ถึง 10 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง และเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้รับการอบรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5800.00

กิจกรรมที่ 2 ผู้ป่วยจิตเวชเรื่้อรังที่มีความเสี่ยงในการเกิดอาการกำเริบได้รับการดูแลติดตาม

ชื่อกิจกรรม
ผู้ป่วยจิตเวชเรื่้อรังที่มีความเสี่ยงในการเกิดอาการกำเริบได้รับการดูแลติดตาม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าตอบแทนผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนจำนวนผู้ป่วย 10 คน ติดตามดูแลคนละ 20 ครั้งๆละ 300 บาท/6 ชม.

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลจากอาสาสมัครและเจ้าหน้าที่่ ที่ติดตามดูแลอาการอย่างต่อเนื่อง 20 ครั้ง ต่อ 1 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
60000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 65,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ป่วยจิตเวชที่อยู่ในการดูแลได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและต่อเนื่้องเพื่อลดอาการกำเริบหรือการกลับมาเป็นซ้ำ และเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยซึ่งจะส่งให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ตามปกติ


>