กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน รหัส กปท. L3318

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตำบลบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโตนดด้วน
3.
หลักการและเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง เช่น พฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด เป็นต้น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มักไม่มีอาการแสดงในระยะแรก และผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อมีอาการ หรือภาวะแทรกซ้อนของโรคกับระบบต่างๆของร่างกายแล้ว จึงทำให้ได้รับการรักษาช้าเกินไปพยาธิสภาพและภาวะแทรกซ้อนของโรคก่อให้เกิดการสูญเสียต่อสุขภาพ เกิดความพิการ และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลต่อทรัพยากรบุคล สังคม และเศรษฐกิจการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย การให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมาย และการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติสามารถลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในยะยะยาวได้
จังหวัดพัทลุงสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในระดับประเทศย้อนหลัง ปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 60,117 คน คิดเป็นอัตราป่วย 951.02 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 6๓,๓๖๘ คน คิดเป็นอัตราป่วย 95๕.๖๘ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 64,039 คน คิดเป็นอัตราป่วย 935.46ต่อแสนประชากรตามลำดับและสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 25,804 คนคิดเป็นอัตราป่วย 852.86ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 2๗,3๕๑ คนคิดเป็นอัตราป่วย 8๖๑.๘8 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 28,456 คน
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของโครงการ) โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง เช่น พฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด เป็นต้น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มักไม่มีอาการแสดงในระยะแรก และผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อมีอาการ หรือภาวะแทรกซ้อนของโรคกับระบบต่างๆของร่างกายแล้ว จึงทำให้ได้รับการรักษาช้าเกินไปพยาธิสภาพและภาวะแทรกซ้อนของโรคก่อให้เกิดการสูญเสียต่อสุขภาพ เกิดความพิการ และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลต่อทรัพยากรบุคล สังคม และเศรษฐกิจการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย การให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมาย และการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติสามารถลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในยะยะยาวได้
จังหวัดพัทลุงสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในระดับประเทศย้อนหลัง ปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 60,117 คน คิดเป็นอัตราป่วย 951.02 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 6๓,๓๖๘ คน คิดเป็นอัตราป่วย 95๕.๖๘ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 64,039 คน คิดเป็นอัตราป่วย 935.46ต่อแสนประชากรตามลำดับและสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 25,804 คนคิดเป็นอัตราป่วย 852.86ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 2๗,3๕๑ คนคิดเป็นอัตราป่วย 8๖๑.๘8 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 28,456 คน คิดเป็นอัตราป่วย 85๕.53ต่อแสนประชากรตามลำดับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสุขภาพตำบลโตนดด้วนมีจำนวนสถิติและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงย้อนหลังปีพ.ศ.2563 มีจำนวนผู้ป่วย 828 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,377.31 ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๔ มีจำนวนผู้ป่วย ๘๔๙ คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,3๓๙.๗๙ ต่อแสนประชากรปีพ.ศ.256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 838 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,308.57 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ และจำนวนสถิติอัตราป่วยด้วนโรคเบาหวานย้อนหลังปีพ.ศ.2563 มีจำนวนผู้ป่วย 388 คน คิดเป็นอัตรา 1,503.64 ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๔ มีจำนวนผู้ป่วย ๔๐๕ คน คิดเป็นอัตรา 1,๔๘๐.๗๕ ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๕ มีจำนวนผู้ป่วย ๔๐6 คน คิดเป็นอัตรา 1,๔26.๗6 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากสถิติดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นซึ่งส่งผลให้เกิดมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน และการติดตามน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ของประชาชนก็มีความสำคัญในการประเมินและคัดกรองเบื้องต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสุขภาพตำบลโตนดด้วนมีประชากรในเขตรับผิดชอบจำนวน ๑๑ หมู่บ้าน มีเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว(DTX)จำนวน 6 เครื่องซึ่งไม่เพียงพอ ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก เพื่อประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวานของประชากรดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะทำให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ลดการสูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและการควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนให้มีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค 3อ.2ส.และการดูแลสุขภาพในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : เพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน ในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 93.00
  • 2. 2.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 2.เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 93.00
  • 3. 3.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคจากการคัดกรอง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเป็นโรคจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส จำนวน1 กลุ่ม จำนวน 50 คน
    ขนาดปัญหา 6.00 เป้าหมาย 7.00
  • 4. 4.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรคจากการคัดกรอง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยเป็นโรคจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส จำนวน1 กลุ่ม จำนวน 30 คน
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 8.00
  • 5. 5.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl ) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    ตัวชี้วัด : 5.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl ) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 50
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 50.00
  • 6. 6.เพื่อติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP)
    ตัวชี้วัด : 6.กลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP) ร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 35.00
  • 7. 7.เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 7.กลุ่มป่วยได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดร้อยละ 60
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 50.00
  • 8. 8.. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.ได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ
    ตัวชี้วัด : 8.ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.ได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ ร้อยละ 95
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 93.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 2,๖59 คน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 2,๒39 คน
    รายละเอียด

    ค่าแถบตรวจระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมเข็มเจาะ จำนวน 28 กล่อง  (กล่องละ 2 ขวดๆละ 50 ชิ้น) ราคากล่องละ ๑,๐๐๐ บาท  เป็นเงิน  2๘,๐๐0  บาท -ค่าถ่ายเอกสาร  แบบบันทึกการตรวจความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง แบบสรุปผลการคัดกรอง            จำนวน 2,๘00  ชุด  ชุดละ 1 บาท
    เป็นเงิน  2,๘00  บาท - รวมเป็นเงิน  ๓๐,๘๐๐ บาท

    งบประมาณ 30,800.00 บาท
  • 2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรค จำนวน 1 รุ่น ๆละ จำนวน 5๐ คน
    รายละเอียด

    ค่าถ่ายเอกสารความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3อ.2ส.  จำนวน ๕๐ แผ่น(หน้า-หลัง)แผ่นละ ๑ บาท เป็นเงิน ๕0 บาท
    - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและผู้จัดจำนวน 5๓ คน  1 มื้อๆละ ๖๐ บาท เป็นเงิน  ๓,๑๘๐บาท  จำนวน 1 รุ่น - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและผู้จัดจำนวน 5๓ คน  ๒ มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน  ๒,๖๕๐บาท  จำนวน 1 รุ่น เป็นเงิน ๒,๖๕๐  บาท รวมเป็นเงิน ๕,๘๘๐บาท

    งบประมาณ 5,880.00 บาท
  • 3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ 3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 1 รุ่น ๆละ จำนวน ๓๐ คน
    รายละเอียด

    -ค่าถ่ายเอกสารความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3อ.2ส.  จำนวน ๓๐ แผ่น(หน้า-หลัง)แผ่นละ ๑ บาท เป็นเงิน ๓0 บาท
    - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและผู้จัดจำนวน ๓๓ คน  1 มื้อๆละ ๖๐ บาท เป็นเงิน  ๑,๙๘๐บาท  จำนวน 1 รุ่น - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและผู้จัดจำนวน ๓๓ คน  ๒ มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน  ๑,๖๕๐บาท  จำนวน 1 รุ่น เป็นเงิน ๑,๖๕๐  บาท รวมเป็นเงิน ๓,๖๖๐บาท

    งบประมาณ 3,660.00 บาท
  • 4. กิจกรรมเจาะ FBSกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl )หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 360 คน
    รายละเอียด

    -ค่าถ่ายเอกสารความรู้เรื่องโรคเบาหวานและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค จำนวน 360 แผ่น(หน้า-หลัง)แผ่นละ ๑ บาท  เป็นเงิน 360 บาท
    -ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว (DTX)จำนวน ๖ เครื่องๆละ๒,๘๐๐บาท เป็นเงิน ๑๖,๘๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๑๗,16๐บาท

    งบประมาณ 17,160.00 บาท
  • 5. กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP)
    รายละเอียด

    ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกการวัดความดันโลหิตที่บ้าน(HMBP) จำนวน ๒30แผ่นๆละ 0.5 บาท  เป็นเงิน 1๑๑ บาท

    งบประมาณ 100.00 บาท
  • 6. กิจกรรมประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน ๒28 คน
    รายละเอียด

    ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน228แผ่นๆละ0.5บาท เป็นเงิน 114 บาท

    งบประมาณ 114.00 บาท
  • 7. กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางผุ้ป่วยเบาหวานปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน 36 คน ผู้จัดโครงการ 3 คน รวม 39 คน
    รายละเอียด
    • ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกการตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน ๓6 แผ่น (หน้า-หลัง)แผ่นละ 0.5 บาทเป็นเงิน 18 บาท -ค่าถ่ายเอกสารความรู้การนวดเท้าและบริหารเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 36แผ่น(หน้า-หลัง) แผ่นละ1บาท เป็นเงิน 36 บาท

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและผู้จัดจำนวน ๓9 คน๑ มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน9๗๕บาท
      -ค่าสมนาคุณวิทยากรชั่วโมงละ600บาท
      3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800บาท -ค่าชุดสมุนไพรแช่เท้า ชุดละ 50บาท จำนวน 36 ชุด เป็นเงิน 1,800บาท ชุดสมุนไพรแช่เท้าประกอบด้วย ใบมะขามผิวมะกรูดขมิ้นชันไพล
      ตะไคร้เกลือ การบูร

    • สบู่เหลวล้างเท้าขนาด ๕00 มล.จำนวน2ขวด ๆละ ๑๓๐บาท เป็นเงิน๒๖0บาท รวมเป็นเงิน ๔,๘๘๙ บาท
    งบประมาณ 4,889.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลโตนดด้วน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 62,603.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

จำนวนประชากรเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงลดลง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน รหัส กปท. L3318

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโตนดด้วน รหัส กปท. L3318

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 62,603.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................