กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่ตำบลประจัน ประจำปี งบประมาณ 2566

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่ตำบลประจัน ประจำปี งบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน

องค์การบริหารส่วนตำบลประจัน

1นายมะรูดิงยาโงะ
2นางสาวนิตยา หลีหมัน
3.นางปารีดะห์สะมาโระ
4.นางแวนูรีตาบูงอ
5.นางสาวอามีซะห์ มะแอ

เขตพื้นที่ ตำบลประจัน อ.ยะรัง จ.ปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 31/03/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่ตำบลประจัน

ชื่อกิจกรรม
โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ในเขตพื้นที่ตำบลประจัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-2- กิจกรรมที่ 1 เวลา    กิจกรรม 08.30 น. – 09.00 น.    ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 09.00 น. – 09.30 น. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลประจัน กล่าวนำก่อนการอบรม 09.30 น. – 10.30 น. วิทยากรบรรยายให้ความรู้  ผู้ป่วย ติดบ้าน ติดเตียง ติดสังคม 10.30 น. – 10.45 น. * * พักรับประทานอาหารว่าง * *
10.45 น. – 11.30 น. - โรคผู้สูงอายุ
11.30 น. – 12.00 น.    - ปัญหาของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
12.00 น. – 13.00 น. * *  พักรับประทานอาหารกลางวัน * * 13.00 น. – 14.30 น. - ปัญหาผู้ป่วย พิการ
14.30 น. – 14.45 น.    * * พักรับประทานอาหารว่าง * *
14.45 น. – 16.00 น. - ปัญหาผู้ป่วยจิตเวช 16.00 น. – 16.30 น. - การดูแล ผู้ป่วย ติดบ้าน ติดเตียง ที่เหมาะสมตามสภาพ
16.30 น. – 17.30 น.    - ซักถาม – ตอบ
กิจกรรมที่ 2     -คณะทำงานลงเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วย ติดบ้าน ติดเตียงในตำบลประจัน เพื่อให้คำแนะนำและสร้างขวัญกำลังใจ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ผู้ดูแลและผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  โรคเบาหวาน  โรคความดันโลหิตสูง  โรคหัวใจและหลอดเลือดสมองสามารถทราบวิธีการส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิตการกายภาพเบื้องต้น การรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วย ๒.ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยมเยียน ๓.ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงได้รับกำลังใจและสามารถที่จะดำเนินชีวิตต่อไปอย่างมีความสุข 4.ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้ ป่วยติดบ้าน ติดเตียง 5. ผู้ป่วยสงสัยรายใหม่ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน 6. กลุ่ม Care giverสามารถประเมิน ADL ได้ และประเมินอาการผู้ป่วยให้ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.ผู้ดูแลและผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองสามารถทราบวิธีการส่งเสริมสุขภาพ สุขภาพจิตการกายภาพเบื้องต้น การรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วย
๒.ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยมเยียน
๓.ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงได้รับกำลังใจและสามารถที่จะดำเนินชีวิตต่อไปอย่างมีความสุข
4.ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้ ป่วยติดบ้าน ติดเตียง
5. ผู้ป่วยสงสัยรายใหม่ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน
6. กลุ่ม Care giverสามารถประเมิน ADL ได้ และประเมินอาการผู้ป่วยให้ดีขึ้น


>