กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการ ชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปี 2566

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู

นางสาว มาเรียมสะนิ

นาง ยารียะห์แมะ
นางสาว มาเรียมสะนิ
นาง ซัลวานีเจะมะ
นางสาว เจะรุสนะห์เจะหลง
นาง นิซารีฟ๊ะหะยีสือแม

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางปู

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ภาวะโลกไร้พรมแดนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในและนอกประเทศ สามารถเข้าถึงยังผู้บริโภคในทุกระดับได้อย่างง่าย ทั้งชุมชนเมืองไปจนกระทั่งเขตชนบท การสื่อสารมวลชนเข้ามามีบทบาทอย่างมากในกระบวนการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะยิ่งส่งเสริมการบริโภคในสังคมอย่างมาก ทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการที่จะบริโภคเกินกว่าความต้องการที่แท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารหรือยาอย่างฟุ่มเฟือย ทำให้มูลค่าการใช้ยาของประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ถือเป็นบุคลากรที่เข้าถึง และเป็นผู้ปฏิบัติงาน สามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข (คบส.) สามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข (คบส.)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะมีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยและผู้บริโภคในชุมชน ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ รวมทั้งยังสามารถส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีภูมิต้านทานในการบริโภค ไม่ให้ถูกหลอก
ลวงจากผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆที่ไม่เหมาะสมได้อีกด้วย
จากการสำรวจปัญหาในชุมชนที่เกี่ยวกับงานคบส. คปสอ.ยะหริ่ง ปี 2561 พบว่า ปัญหาที่พบมากที่สุดเรียงลำดับได้ ดังนี้ 1. ร้านชำจำหน่ายอาหารพร้อมบริโภคไม่มีเลข อย./วัน เดือน ปี ผลิต หมดอายุ คิดเป็น 100% ของปัญหาทั้งหมด นั่นคือ ทุกตำบลในอำเภอยะหริ่งพบปัญหาเดียวกันนี้ 2. ผู้ประกอบการไม่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ คิดเป็น 83.3% 3.ร้านชำจำหน่ายยาอันตราย/ยาชุด/ยาปฏิชีวนะในชุมชน คิดเป็น 77.8% 4. ร้านชำจำหน่ายอาหารที่ไม่มีฉลาก/เครื่องหมาย อย คิดเป็น 50%. 5. ร้านชำจำหน่ายอาหารนำเข้าจากมาเลเซีย เป็นต้น จากปัญหาข้างต้นจะเห็นได้ว่าร้านชำเป็นหนึ่งในแหล่งกระจายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยในชุมชน และมีผลต่อผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากสะดวก มีความคุ้นเคย จึงจำเป็นต้องสร้างความตระหนักรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนให้มีองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมต่อกับการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use : RDU) โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย อีกทั้ง ส่งผลให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ตามสโลแกนงานคุ้มครองผู้บริโภค คปสอ.ยะหริ่ง ที่ว่า “ผู้บริโภคยุคใหม่ รู้ซื้อ รู้ใช้ รู้ระวังภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน”

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างแกนนำเครือข่ายการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมต่อการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) ในชุมชน

 

0.00
2 เพื่อเสริมพลังให้แกนนำเครือข่ายสามารถส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผลแก่ภาคประชาชนได้

 

0.00
3 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค

 

0.00
4 เพื่อพัฒนาร้านชำในชุมชน ให้มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน RDU ในชุมชน รายไตรมาส

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน RDU ในชุมชน รายไตรมาส
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน RDU ในชุมชน รายไตรมาส 1. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทำงาน RDU ในชุมชน รายไตรมาส
- ค่าอาหารกลางวัน30 คน X 50 บาท X 1 มื้อ X 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน X 25 บาท X 2 มื้อ X 2 ครั้งเป็นเงิน 3,000บาท - ค่าวัสดุเครื่องเขียน และอุปกรณ์ เป็นเงิน 4,000บาทรวมเป็นเงิน10,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 2 2. ประชุมให้ความรู้เรื่องการเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ปลอดภัย เชื่อมโยงกับหลักการทาง

ชื่อกิจกรรม
2. ประชุมให้ความรู้เรื่องการเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ปลอดภัย เชื่อมโยงกับหลักการทาง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมให้ความรู้เรื่องการเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ปลอดภัย เชื่อมโยงกับหลักการทางศาสนา และเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ค่าอาหารกลางวัน 50 คน X 50บาท X 1 มื้อ X 1 ครั้ง            เป็นเงิน 2,500 บาท

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน X 25 บาท X 2 มื้อ X 1 ครั้ง             เป็นเงิน 2,500 บาท รวมเป็นเงิน  5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 3 3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แก่ผู้ประกอบการร้านชำ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน,ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แก่ผู้ประกอบการร้านชำ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน,ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แก่ผู้ประกอบการร้านชำ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน,ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 50 คน -   ค่าอาหาร         50 คน X 50 บาท X 1 มื้อ          =   2,500  บาท -   ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน X 25 บาท X 2 มื้อ          =   2,500  บาท -   ค่าวิทยากร  2 ชั่วโมงๆละ 300 บาท * 2 คน                            =   1,200  บาท
    รวมเป็นเงิน  6,200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6200.00

กิจกรรมที่ 4 4. พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ

ชื่อกิจกรรม
4. พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ

-  ค่าป้ายโครงการ ขนาด (1.2 x 2.4 ) จำนวน 1 ร้าน ผืนๆละ  750 บาท = 750บาท -  ค่าป้ายจัดกลุ่มสินค้า               จำนวน 1 ร้าน ร้านละ 2,000 บาท      = 2,000 บาท                       รวมเป็นเงิน  2,750  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2750.00

กิจกรรมที่ 5 5. คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
5. คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-   ค่าอาหาร         60 คน X 50 บาท X 1 มื้อ    =   3,000  บาท -   ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 60 คน X 25 บาท X 2 มื้อ    =   3,000  บาท รวมเป็นเงิน 6,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 29,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ประกอบการและประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค
2. ร้านชำในตำบลมีคุณภาพปลอดยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย


>