กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลด ละ เลิก เพื่อสุขอนามัยที่ดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง

โรงเรียนพิทักษ์ศาสน์วิทยามูลนิธิ

1.นายอัสมาน หะยีมะลี
2.นายสุปยัน อาบู
3.นางสาวปาตีซู อาเยาะแซ
4.นางสาวสารีป๊ะดอนิ
5.นายยูลกิฟลี ดอเลาะ

ตำบลยะรังอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนมีความรู้เรื่องปัญหาขยะที่ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยนักเรียน และการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นจากปัญหาขยะการลด การคัดแยก การกำจัดขยะที่ถูกวิธี

นักเรียนครู และบุคลากรของโรงเรียน มีความรู้เรื่องปัญหาขยะที่ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยนักเรียน และการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นจากปัญหาขยะการลด การคัดแยก การกำจัดขยะที่ถูกวิธีเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อสร้างจิตสำนึก สร้างพฤติกรรมของเยาวชนในโรงเรียนให้เห็นความสำคัญของการลด การคัดแยก การกำจัดขยะ

นักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนเห็นความสำคัญของการลด การคัดแยก การกำจัดขยะ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ80

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้นักเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้นักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

.เสนอโครงการจัดการขยะโรงเรียนพิทักษ์ศาสน์วิทยามูลนิธิ (รวมพลัง ช่วยคัดแยกหมดปัญหาขยะ)ให้คณะกรรมการกองทุนขหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี พิจารณาอนุมัติโครงการ 2.เมื่่อได้รับการอนุมัติงบประมาณจึงดำเนินการจัดทำโครงการจัดการขยะโรงเรียนพิทักษ์ศาสน์วิทยามูลนิธิ (รวมพลัง ช่วยคัดแยก ขหมดปัญหาขยะ)ดังนี้ 2.1กิจกรรมอบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน -เรื่องปัญหาขยะที่ส่งผลต่อสุขภาพอนามัย และการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นจากปัญหาขยะ -เรื่องการลดปริมาณขยะ -เรื่องขั้นตอนและวิธีการกำจัดขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก 3.ประเมินผลการดำเนินโครงการ 4.สรุปรายงานผลการจัดทำโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง

งบประมาณ 1.ค่าอาหารกลางวัน 80 บาท ต่อมื้อ จำนวน 100 คน เป็นเงิน 8,000 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท 2 มื้อ จำนวน 100 คน เป็นเงิน 7,000 บาท 3.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.24250เป็นเงิน 1,200 บาท 4.ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 5.ค่าวัสดุอุปกรณ์ -กระดาษสร้างแบบ จำนวน 10 แผ่น แผ่นละ 5 บาท เป็นเงิน 50 บาท -ปากกาเคมี จำนวน 10 ด้าม ด้ามละ 15 บาท เป็นเงิน 150 บาท -กาวสองหน้า จำนวน 1 ม้วนเป็นเงิน 40 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่่องการจัดการขยะร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20040.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,040.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
1.นักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนมีความรู้เรื่องปัญหาขยะที่ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยนักเรียน และการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นจากปัญหาขยะ การลด การคัดแยก การกำจัดขยะที่ถูกวิธี
2.นักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนเห็นความสำคัญของการลด การคัดแยก การกำจัดขยะ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น
3.เกิดการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนมีประสิทธิภาพและการลดปริมาณขยะป้องกันการเกิดโรคต่างๆที่มาจากขยะ


>