กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลดหวานของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

เขตเทศบาลเมืองพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

 

48.55
2 ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

 

4.42
3 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน

 

15.18

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะอ้วนในเด็ก 6-14 ปี

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน

15.18 12.00
2 เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี)

ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

4.42 3.00
3 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

48.55 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 160
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมสร้างความเข้าใจแก้ภาคีสุขภาพในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสร้างความเข้าใจแก้ภาคีสุขภาพในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมสร้างความเข้าใจแก้ภาคีสุขภาพในชุมชน ได้แก่ หมอ อสม. อสก. อทศ. กองสาธารณสุข จำนวน 80 คน จาก 45 ชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจรายละเอียดโครงการให้ได้ข้อมูลร้านขายเครื่องดื่ม และคัดเลือกกลไกรขับเคลื่อน ชุนชนละ 2 คน จำนวนคนอ้วนในชุมชน โดยมีค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1.ป้ายโครงการ 500 บาท 2.อาหารว่าง 80 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 เมษายน 2566 ถึง 20 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้จำนวนร้านขายเครื่องดื่ม 2.จำนวนคนอ้วน เด็ก ผู้ใหญ่ 3.ได้กลไกรขับเคลื่อน ชุนชนละ 2 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2500.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมพัฒนากลไกลขับเคลื่อน/เฝ้าระวัง/ติดตาม

ชื่อกิจกรรม
ประชุมพัฒนากลไกลขับเคลื่อน/เฝ้าระวัง/ติดตาม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมพัฒนากลไกลขับเคลื่อน/เฝ้าระวัง/ติดตาม ที่ได้จาก 45 ชุมชน รพ.สต และเทศบาล จำนวน 24 คน เพื่อออกแบบเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 80 คนออกแบบเก็บข้อมูลของร้านขายเคลื่องดื่ม จำนวน 40 ร้าน มีค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.อาหารว่าง 24 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 600 บาท 2.ค่าออกแบบเก็บข้อมูล 12 ชุดๆละ 10 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท 3.ค่าเก็บข้อมูล 120 ชุดๆละ 20 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มีนาคม 2566 ถึง 27 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย 2.ได้ข้อมูลร้านขาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมกลุ่มเป้าหมายคนอ้วยติดหวาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกลุ่มเป้าหมายคนอ้วยติดหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมกลุ่มเป้าหมายคนอ้วยติดหวาน 80 คน เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือผลลัทธ์ กำหนด และตรวจสุขภาพบุคคลเบื้องต้น (นน. สส. พฤติกรรมสุขภาพเก็บข้อมูล มีค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.อาหารว่าง 24 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 600 บาท 2.ค่าวิทยากร 1,200 บาท 3.ค่าชุดเจาะน้ำตาล จำนวน 80 ชุดๆละ 50 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 มีนาคม 2566 ถึง 30 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ข้อมูลสุขภาพ และพฤติกรรม ได้กติการผลลัทธ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5800.00

กิจกรรมที่ 4 ประสานความร่วมมือกับผู้ขายเครื่องดื่ม

ชื่อกิจกรรม
ประสานความร่วมมือกับผู้ขายเครื่องดื่ม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประสานความร่วมมือกับผู้ขายเครื่องดื่ม เพื่อสร้างความเข้าใจและรายละเอียดโครงการ ประสานความร่วมมือลดความหวานในเครื่องดื่ม และให้ป้าย ''หวานน้อย'' ค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.ค่าป้ายหวานน้อย 40 ป้ายๆละ 200 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท 2.อาหารว่างในการสรุปงานรายวัน 24 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มีนาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้านเข้าร่วมโครงการ 40 ร้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8600.00

กิจกรรมที่ 5 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คนอ้วนติดหวาน ครั้งที่ 1

ชื่อกิจกรรม
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คนอ้วนติดหวาน ครั้งที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คนอ้วนติดหวาน ครั้งที่ 1 โดยใช้วิทยากรกระบวนการเพื่อค้นหาปัจจัยความสำเร็จ ค้นหาบุคคลต้นแบบ แบ่งเป็น 3 กลุ่มผลลัทธ์ (ดี/ปกติ/แย่กว่าเดิม) มีค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1.อาหารว่าง 80 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 2.ค่าวิทยากรกระบวนการ 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 มิถุนายน 2566 ถึง 22 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ข้อมูลสุขภาพ และข้อมูลพฤติกรรม 2.ได้บุคคลต้นแบบลดหวาน ลดอ้วนได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3200.00

กิจกรรมที่ 6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คนอ้วนติดหวาน ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คนอ้วนติดหวาน ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คนอ้วนติดหวาน ครั้งที่ 1 โดยใช้วิทยากรกระบวนการเพื่อค้นหาปัจจัยความสำเร็จ ค้นหาบุคคลต้นแบบ แบ่งเป็น 3 กลุ่มผลลัทธ์ (ดี/ปกติ/แย่กว่าเดิม) มีค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1.อาหารว่าง 80 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 2.ค่าวิทยากรกระบวนการ 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 สิงหาคม 2566 ถึง 25 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ข้อมูลสุขภาพ และข้อมูลพฤติกรรม 2.ได้บุคคลต้นแบบลดหวาน ลดอ้วนได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3200.00

กิจกรรมที่ 7 ประชุมกลไกร สรุป ประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกลไกร สรุป ประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมกลไกรติดตาม 22 คน และผู้แทนกลุ่มย่อย 10 คน เพื่อประเมินผลจากแบบบันทึกข้อมูลรายบุคคลล และข้อมูลความร่วมมือของร้านขายเครื่องดื่ม ค่าใช้จ่ายดังนี้ 1.อาหารว่าง 34 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 850 บาท 2.ค่าตอบแทนนักวิชาการสรุปประเมินผล 1,200 บาท 3.ค่าเกียรติบัตร หมู่บ้าน 22 ชุดๆละ 150 บาท เป็นเงิน 5,350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
26 สิงหาคม 2566 ถึง 26 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.จำนวนคนที่ลดหวาน 2.จำนวนคนที่ลดอ้วน 3.จำนวนร้านค้าหวานน้อย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนในชุมชนลดการกินหวาน สุขภาพ ดีขึ้น


>