กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 6

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง

1. น.ส. ศิริธร จันทร์หอม 2. นาง สุพาพร อักษรเนียม 3. นาง ณาตยาณี ช่วยราชการ 4. นาง นิตยา สีใหม 5. นาง วรรณา มากมา

1. น.ส. ศิริธร จันทร์หอม
2. นาง สุพาพร อักษรเนียม
3. นาง ณาตยาณี ช่วยราชการ
4. นาง นิตยา สีใหม
5. นาง วรรณา มากมา

หมู่ที่ 6 บ้านโหล๊ะจันกระ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง จากปัญหาที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ปัญหาจากการตั้งรับ โดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมโดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นให้ประชาชนและองค์กรชุมชนให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  • อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง
0.00
2 2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  • สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายได้
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. เดินรณรงค์และเก็บขยะจัดการลูกน้ำยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2. เดินรณรงค์และเก็บขยะจัดการลูกน้ำยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน 5 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารว่าง จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อๆละ25บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
  • ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าเช่าเครื่องเสียง 1 วัน จำนวน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 10,100 บาท
  • ค่าอาหารว่าง จำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
  • ค่าป้ายรณรงค์ จำนวน 2 ป้ายๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าถุงขยะและถุงมือ 450 บาท รวมเป็นเงิน 2,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะนำโรค
2. ช่วยลดปริมาณของลูกน้ำยุงลาย


>