กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชายหาดชุมชนบ้านตันหยงเปาว์ ปลอดขยะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ

อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านตันหยงเปาว์

นางสาวรอสีด๊ะลาเตะประธานอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านตันหยงเปาว์
นางสาวสูรายณีเจะเลาะ รองประธานอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านตันหยงเปาว์
นางสาวมูนีเจะมิงอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านตันหยงเปาว์
นางกลูสงเจะอาลี อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านตันหยงเปาว์
นางสาวอาซีย๊ะ มามะ อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านตันหยงเปาว์

บ้านตันหยงเปาว์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาชยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนานและนับวันยิ่งมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น สาเหตุเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปีตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของประชาชน ในขณะเดียวกันปริมาณขยะมูลฝอยไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง ตามพระราชบัญญัติสภาองค์การบริหารสวนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา ๖๗ ข้อ 2 รักษาความสะอาดถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งการจัดมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลคุ้มครองดูแล และบำรุงรักษาสิงแวดล้อม
ชุมชนบ้านตันหยงเปาว์ ตำบลท่ากำชำ ก็กำลังประสบปัญหาในด้านการบริหารจัดการขยะเช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นตามจำนวนประชากร ปัญหาการทิ้งขยะไม่เป็นที่ไม่เป็นเวลาและปัญหาขยะตกค้างต่างๆ ดั้งนั้นชุมชนบ้านตันหยงเปาว์ จึงได้จัดทำโครงการเก็บขยะริมชายหาด เพื่อลดปริมาณขยะ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านตันหยงเปาว์ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนร่วมใจคัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือนขึ้น และสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อนำร่องปลูกฝังสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนตระหนักในการคัดแยกขยะ

 

0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญและเข้าใจถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมชี้แจงแก่ผู้ปฏิบัติงานและลงปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ที่กำหนดไว้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชุมชี้แจงแก่ผู้ปฏิบัติงานและลงปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ที่กำหนดไว้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 50 บาท จำนวน 50 คน จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
-ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 50 คน จำนวน 2 วัน  เป็นเงิน 5,000 บาท
-ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.การคัดแยกขยะสามารถเพิ่มมูลค่า สร้างรายได้ให้กับประชาชน
2.ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญลดปริมาณขยะ และสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ในชีวิตประจำวัน


>