กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชุมชนสะอาด ป้องกันไข้เลือดออก หมู่ที่ 10

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง

1. นาวสาวกะสมา ดาราพงศ์ 2. นางพิสมัย หนูโม 3. นายก่อเกียรติ บุญพน 4. นางปราณี เหตุทอง 5. นายอาหลียาชะรัด

1. นาวสาวกะสมา ดาราพงศ์
2. นางพิสมัย หนูโม
3. นายก่อเกียรติ บุญพน
4. นางปราณี เหตุทอง
5. นายอาหลียาชะรัด

หมู่ที่ 10 บ้านทุ่งสบาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อ โดยมียุงเป็นพาหะนำโรค สามารถพบผู้ป่วยได้ตลอดปี แต่มักพบการระบาดในฤดูฝน ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง หน้าแดง ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร อาเจียน ซึม ถ้ารักษาไม่ทันอาจเสียชีวิตได้ดังนั้นทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงเห็นถึงปัญหาต้องหาทางแก้ไขและป้องกันโรคไข้เลือดออก เพื่อลดการติดเชื้อ และลดการเสียชีวิตของคนในชุมชน โดยเน้นให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่กลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาช่วยลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชนส่งผลให้อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

1.อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนลดลง

0.00
2 ข้อที่ 2.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

2.ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2.เดินรณรงค์และเก็บขยะลดจำนวนลูกน้ำยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
1.อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2.เดินรณรงค์และเก็บขยะลดจำนวนลูกน้ำยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากรจำนวน 5 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 50 คนๆละมื้อๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
  • ค่าป้ายโครงการ 1 ป้าย เป็นเงิน 600 บาท
    รวมเป็นเงิน 10,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างจำนวน 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
  • ค่าป้ายรณรงค์ จำนวน 1 ป้ายๆละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าถุงขยะและถุงมือ เป็นเงิน 150 บาท
  • ค่าเครื่องเสียง 1 วัน เป็นเงิน 1,000 บาท
    รวมเป็นเงิน 3,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะนำโรค
2. ลดปริมาณลูกน้ำยุงลายในชุมชน
3. ลดการติดเชื้อโรคไข้เลือดออกและเสียชีวิตในชุมชน


>