กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชุนตำบลกระเสาะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระเสาะ

ตำบลกระเสาะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.กระเสาะ มีผู้ป่วยทางจิตเวชจำนวน 15 ราย จากการสำรวจข้อมูลเบื้องต้น และศึกษาแฟ้มประวัติครอบครัว พบว่า ส่วนใหญ่เกิดจากปัญหายาเสพติด จากปัญหาครอบครัวย และเกิดจากพันธุกรรม จากการติดตามเยี่ยมบ้านของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขพบปัญหาดังนี้
1. ผู้ป่วยขาดยาเนื่องจากรับประทานต่อเนื่องแล้วดีขึ้นแล้วเบื่อหน่าายจำเจ จึงหยุดยาเอง
2. ผู้ดูแลขาดความรู้ในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
3.ทีมเครือข่ายขาดความรู้ ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระเสาะ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ ผู้ป่่วยจิตเวชได้รับบริการต่อเนื่องชุมชน ลดอาการกำเริบหรือการกลับมาเป็นซ็ำเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติ และพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายตำบล ให้เกิดความเข้าใจความเข้มแข็งในการดูแลผูํ้ป่วยจิตเวชซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ตามปกติต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่อง มีอาการกลับเป็นซ้ำที่ลดลงไม่มีอาการกำเริบ

ผู้ป่วยโรคจิตเวช ในพื้นที่ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ทานยาสม่ำเสมอ อาการกลับเป็นซ้ำลดลง

0.00
2 เพื่่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง

ญาติหรือผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช

0.00
3 เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระ การดูแลของญาติ

ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระของผู้ดููแลของญาติ

0.00
4 เพื่อทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน

ทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทางเดียวกัน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 45
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 27/03/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดประชุมเพื่อชี้แจงปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ในพื้นที่ และร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงาน โดยจนท.รพ.สต. อสม ในพื้นที่ 2.กิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับสุขภาพจิด โรคจิตเวช 3.จัดกิจกรรมออกติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช มอบ Set box  ให้กับผู้ป่วยรวมถึงญาติ
  2. ค่าไวนิลสื่อให้ความรู้ เกี่ยวกับผู้ป่วยโรคจิตเวช โดยติดตั้งบริเวณจุดสำคัญในพื้นที่ทั้ง 5 หมู่บ้าน
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่องมีอาการกลับเป็นซ้ำลดลง 2.ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระการดูแลของญาติ 4.ทีมภาคีเครือข่าย ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่องมีอาการกลับเป็นซ้ำลดลง 2.ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระการดูแลของญาติ 4.ทีมภาคีเครือข่าย ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน


>