กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสดใสไร้พุง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาปะขอ

ห้องประชุมประดู่ทอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาปะขอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการเหตุผล
คนไทยมีแนวโน้มเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือดมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีสาเหตุจากอาหารการกินที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมถึงกินผักและผลไม้ไม่เพียงพอ อีกทั้งไม่มีเวลาหรือแรงจูงใจในการที่จะออกกำลังกาย นอกจากนี้ยังมีประชาชนบางกลุ่มที่เข้าใจผิดเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร อาทิเช่น ดื่มกาแฟแทนการรับประทานอาหารเช้า และงดมื้อเย็นเพื่อลดน้ำหนักแทนการรับประทานอาหารที่ถูกต้องและออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาปะขอจึงได้จัดทำโครงการสดใสไร้พุง ปีงบประมาณ 2566 เพื่อให้มีการอบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติแก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อป้องกันโรคหรือป้องกันภาวะแทรกซ้อน ด้วยการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม โดยมุ่งเน้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนโครงสร้างความคิดเกิดความเข้าใจใหม่ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลตนเองให้พ้นจากภาวะเสี่ยง อีกทั้งยังสามารถที่จะแนะนำคนในครอบครัวให้มีพลานามัยที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะลงพุงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

 

0.00
2 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบได้ฝึกปฏิบัติร่วมกัน แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลตนเอง

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 26/07/2023

กำหนดเสร็จ 26/07/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและเจ้าหน้าที่ 70 คน x 1 มื้อ x 60 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและเจ้าหน้าที่ 70 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 3.500 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 คน x 3 ชม. X 600 บาท/วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าเครื่องวัดความดัน จำนวน 1 เครื่อง เครื่องละ 3,500 บาท
  • ค่าสายวัดรอบเอว DPAC จำนวน 1 ชิ้น ชิ้นละ 200 บาท
    รวมเป็นเงิน 15,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
26 กรกฎาคม 2566 ถึง 26 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80


>