กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะอินทรีย์ภายในครัวเรือนชุมชนบ่อหลวง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง ชุมชนบ่อหลวง

1. นางสาวสีตีปาตีม๊ะ หมันสง่า
2. นายณัฐวุฒิ หมันสง่า
3. นางสุธิศา บิลังโหลด
4. นางชไมพรหมันสง่า
5. นางศิริพร บิลังโหลด

หมู่ที่ 2 ตำบลเจ๊ะบิลัง ชุมชนบ่อหลวง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

 

40.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย และรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชนเพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ร้อยละของชุมชนมีความสะอาดเป็นระเบียบเรียบ

40.00 1.00
2 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน ตระหนักการแก้ไขปัญหาขยะ และส่งเสริมการคัดแยกขยะครัวเรือนจากต้นทางลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน

ร้อยละของประชาชนที่เข้ารับการอบรม ตระหนักการแก้ไขปัญหาขยะและมีการคัดแยกขยะ

40.00 1.00
3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ลดการปนเปื้อนขยะเปียกกับของเหลือใช้อื่น ๆ สร้างรายได้เพิ่มจากการคัดแยกขยะ ลดภาระค่าใช้จ่ายโดยการใช้ปุ๋ยหมักที่เกิดจากถังขยะเปียก เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ตลอดจนลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวิภาพ และลดก๊าซเรือนจก

40.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 31/05/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรืองการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรืองการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณและการดำเนินการ   2. ประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ   3. ประสานงานกับบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   4. ตรวจสอบ/คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย   5. จัดเตรียมหลักสูตร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ฯลฯ ที่ใช้ในการอบรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย และรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชนเพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
    1. ส่งเสริมให้ประชาชน ตระหนักการแก้ไขปัญหาขยะ และส่งเสริมการคัดแยกขยะครัวเรือนจากต้นทางลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน
    2. ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ลดการปนเปื้อนขยะเปียกกับของเหลือใช้อื่น ๆ สร้างรายได้เพิ่มจากการคัดแยกขยะ ลดภาระค่าใช้จ่ายโดยการใช้ปุ๋ยหมักที่เกิดจากถังขยะเปียก เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ชุมชน ตลอดจนลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
  2. ลดค่าเก็บขนขยะ และค่ากำจัดขยะมูลฝอย
  3. มีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะอินทรีย์ภายในครัวเรือน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8050.00

กิจกรรมที่ 2 การจัดทำถังขยะอินทรีย์ให้ครัวเรือนต้นแบบในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การจัดทำถังขยะอินทรีย์ให้ครัวเรือนต้นแบบในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณและการดำเนินการ   2. ประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ   3. ประสานงานกับบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   4. ตรวจสอบ/คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย   5. จัดเตรียมหลักสูตร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ฯลฯ ที่ใช้ในการอบรม   6. การจัดทำถังขยะอินทรีย์ให้ครัวเรือนต้นแบบในชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย และรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชนเพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
    1. ส่งเสริมให้ประชาชน ตระหนักการแก้ไขปัญหาขยะ และส่งเสริมการคัดแยกขยะครัวเรือนจากต้นทางลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน
    2. ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ลดการปนเปื้อนขยะเปียกกับของเหลือใช้อื่น ๆ สร้างรายได้เพิ่มจากการคัดแยกขยะ ลดภาระค่าใช้จ่ายโดยการใช้ปุ๋ยหมักที่เกิดจากถังขยะเปียก เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ชุมชน ตลอดจนลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
  2. ลดค่าเก็บขนขยะ และค่ากำจัดขยะมูลฝอย
  3. มีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะอินทรีย์ภายในครัวเรือน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย และรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชนเพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
2. ส่งเสริมให้ประชาชน ตระหนักการแก้ไขปัญหาขยะ และส่งเสริมการคัดแยกขยะครัวเรือนจากต้นทางลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน
3. ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ลดการปนเปื้อนขยะเปียกกับของเหลือใช้อื่น ๆ สร้างรายได้เพิ่มจากการคัดแยกขยะ ลดภาระค่าใช้จ่ายโดยการใช้ปุ๋ยหมักที่เกิดจากถังขยะเปียก เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ชุมชน ตลอดจนลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
4. ลดค่าเก็บขนขยะ และค่ากำจัดขยะมูลฝอย
5. มีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะอินทรีย์ภายในครัวเรือน


>